วิสุทธิมรรคเปภาคร ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 94
หน้าที่ 94 / 329

สรุปเนื้อหา

บทในหนังสือวิสุทธิมรรคเปภาคร ๓ ตอน ๒ แสดงถึงการพิจารณาจิตในระดับต่างๆ ว่าว่ามีลักษณะที่ไม่เที่ยง อันเป็นการแสดงธรรมเพื่อทำความเข้าใจถึงสภาวะของจิตและการไม่ยึดมั่นในรูปแบบของมัน ภิกขุจะต้องพิจารณาทุกขณะจิต สิ่งที่เกิดขึ้นและดับไป พร้อมทั้งจัดทำความเข้าใจว่ามันคือภาวะธรรมที่ไม่เที่ยงเป็นทุกข์และเป็นอนัตตา โดยการพิจารณาตั้งแต่จิตดวงแรกไปจนถึงจิตดวงที่ห้า เพื่อทำให้เกิดปัญญาและการปล่อยวางในภายใน

หัวข้อประเด็น

-พิจารณาจิต
-ไม่เที่ยง
-เป็นทุกข์
-อนัตตา
-ธรรมชาติของจิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- วิสุทธิมรรคเปภาคร ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) - หน้า 94 โดยเป็นคู่ (คือ ๒ ชั้น ?) [ขอคืนโสด-โดยเป็นขนะ] ข้อว่า "ขณิกโสด-โดยเป็นขนะ" ความว่า ภิกขุในพระธรรมวันนี้ พิจารณาอาทนิกเปนุว่า ไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตาแล้ว พิจารณาจิตดวงแรก (ที่พิจารณารูป) นั้น ด้วยจิตดวง ๒ ว่าแม้จิตดวงแรกนั้น ก็ไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา พิจารณาจิตดวงที่ ๒ ด้วยจิตดวงที่ ๓... พิจารณาจิตดวงที่ ๔ ด้วยจิตดวงที่ ๕... พิจารณาจิตดวงที่ ๔... จิตดวงที่ ๔... จิตดวงที่ ๔ นั้น ก็ไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา ภิกขุพิจารณาว่า-0-ยูทุตตผะคมรูป... อาหารรมรูป... อุทุมรูป... กัมมรูป... จิตสมุฏฐานรูป... ธรรมอารมณ์ ว่าไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตาแล้ว พิจารณาจิตดวงแรก (ที่พิจารณารูป) นั้น ด้วยจิตดวงที่ ๒... พิจารณาจิตดวงที่ ๓... พิจารณาจิตดวงที่ ๔ ด้วยจิตดวงที่ ๔... พิจารณาจิตดวงที่ ๔ ด้วยจิตดวงที่ ๕... ว่าแม้จิตดวงที่ ๕... จิตดวงที่ ๒... จิตดวงที่ ๓... จิตดวงที่ ๔... นั้น ก็ไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา ภิกขุวาจารจิตละ ๕ ดวง ตั้งแต่จิตดวงที่กำหนดคืออารมณ์ (เป็นอารมณ์) ไป ดังกล่าวมานี้ ชื่อว่าพิจารณาโดยเป็นขนะ (คือ พิจารณาจิต ๔ ขณะ หรือ ๕ ขณะ) * มหากุฏิวิเยยว่าเพราะพิจารณาปรรถธรรม กับนามธรรม คือ จิต เป็นคู่ ๆ กัน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More