ประโคม- วิชาภัณฑ์แปล ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) หมายที่ 151 วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 151
หน้าที่ 151 / 329

สรุปเนื้อหา

บทนี้กล่าวถึงความเข้าใจในธรรมฝ่ายไทย โดยเน้นที่การใช้ญาณในพุทธศาสนาและธรรมชาติที่ไม่สามารถรู้ได้ด้วยอารมณ์เพียงอย่างเดียว การนำเสนอแต่ละประเด็นเรียงลำดับจากการวิเคราะห์ลักษณะของสามีสิ่งต่าง ๆ และการเข้าใจถึงญาณ ๑๐ ที่มีความเป็นธรรมตามหลักพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังกล่าวถึงความสำคัญของการไม่หวั่นไหวในทิฐิที่ไม่บริสุทธิ์ เพื่อพัฒนาตนในแนวทางของพุทธธรรม ร่วมกับการแสดงบทบาทของอาจารย์และอุบายในการเป็นผู้เรียนรู้ธรรมให้ลึกซึ้ง

หัวข้อประเด็น

-ความเข้าใจในธรรมฝ่ายไทย
-การใช้ญาณในพุทธศาสนา
-ความเป็นไปในอารมณ์
-ญาณ ๑๐
-การวิเคราะห์ลักษณะของสามิสิ่ง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโคม- วิชาภัณฑ์แปล ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) หมายที่ 151 (คือเบญจถามคุณ ?) และกิจสมิส องค์สังสิงใดเล่าส่งให้เป็นสมิส สิ่งนั้น ก็ย่อมเป็นสงฆรเท่านั้นเอง เหตุนี้ นันทจึงกล่าวต่อไปว่า “ปัญญา ในเหตุปฏิฐานว่า “อุปปะทะเป็นกถุ” เป็นอานิญฺญาคต ของนี้เป็นตัน แม่เป็นต้นอย่างนั้น ก็พักทราบความต่างกันในธรรมฝ่ายไทยด้วยอำนาจ เป็นไปโดยมีอาหารต่างกันอย่างนี้ คือ อาจารย์เป็นของน่ากลัว โดน มีอาการเป็นทุกข์ โดยมีอาการเป็นสามิษ คำว่า “ทศ าญาณ ปาญาณ ๑๐” อธิบายว่า กิญฺญาณ เมื่อรู้ว่าอทิธานญาณ ชื่อว่าอ่อนรู้ว่า คือเทพตลอด ทำให้แจ้งซึ้ง ญาณ ๑๐ คืออญาณมีธรรมฝ่ายอาทินพีอทัพเป็นต้นเป็นต้น ๕ ญาณมีธรรมฝ่ายเกมมีอนุปปาทะเป็นต้นเป็นต้น ๕ คำว่า “ทวิญฺญาณ อาถานา กลศตา-เพราะความที่เป็นผู้ลาก ในญาณ ๒” ความว่า เพราะความที่เป็นผู้ลาดในญาณ ๒ นี้” คือ อาทินญาณ ๑ สันทิญาณ ๑ คำว่า “นานานุภูมิุสููใน กุมปติ-ไม่หวั่นไหวในเพราะทิฐิ ต่าง ๆ” ความว่า ย่อมไม่สะดวกไปในเพราะทิฐิทุจริตหลาย อันเป็น ๑. มหาภูมิว่า ญาณอันเป็นไปโดยอาราม (เห็นสงสาร) เป็นของน่ากลัว เป็นภาวะปฏิฐานณ์ ที่เป็นไปโดยอารามนั่น เป็นอานิญฺญาทดลอง ๒. มหาภูมิว่า อาณาน เป็นอุตูฏวิดในอรรถแห่งสัตตมวัด Becauseประกอบกับ กุลฺล ศัพท์ ดังคำว่า กุลฺล น จกฺวส-ผู้ลาดในการฟ้อนรำและบำร้อง ส่วน กุลฺลตา เป็นปฐมาวิด ในอรรถดียววัด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More