ประโยคศาสนา - วิสุทธิปริยายกแปล ภาค ๓ ตอน ๒ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 116
หน้าที่ 116 / 329

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้ได้อธิบายถึงการเป็นที่พึ่งทางจิตใจของพระเถระและบทบาทของคุณธรรมในวิปัสสนา รวมถึงการประสบผลสำเร็จในญาณและประสบการณ์ปิติที่เกิดขึ้นในสมัยของการปฏิบัติ โดยให้ความสำคัญกับการตั้งใจในการฝึกปฏิบัติและศึกษาหลักธรรมต่าง ๆ เพื่อก้าวสู่การบรรลุผลเลิศที่แท้จริงเหมือนพระเถระที่ได้ชื่อว่าเป็นคนโถสรรค์ในประโยคศาสนา

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาในศาสนา
-วิปัสสนา
-ญาณและปิติ
-การเป็นที่พึ่งทางจิตใจ
-การบรรลุผลเลิศ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคศาสนา - วิสุทธิปริยายกแปล ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) หน้า 116 ซิ่มทันนะ ขอเธอจงเป็นที่พึ่งพิงของฉันด้วยเถิด" แล้วนั้นกระหย่ง (คือคุณเขา) แทนเท้า (พระจินาสพ) พระเถระจินสนมัว่า "ท่าน อาจารย์) กระผมก็ตั้งใจว่าจะเป็นที่พึ่งของท่านนั้นแหละ ท่าย่อยคิดไปเลย" แล้วบอกกรรมฐานให้ พระเถระรับกรรมฐาน แล้วขึ้นสู่ที่จงกรรม ในอย่างเท้าที่ ๓ ก็ได้บรรลุผลเลิศคือพระอัศ ได้นามว่า พระเถระเป็นคนโถสรรค์ กิญจ (โยคาวจร) ทั้งหลายผู้เป็น (คนทะนง) ชนิดนี้ (และ) ย่อมหวั่นไหวในเพราะโอกาส [ญาณ] ข้อว่า ญาณ ได้แก่วิปัสสนาญาณ (ญาณในวิปัสสนา) นัยว่า ญาณอันคนกล้าเขียนแหง่มีง ยิ่งล้นอันอะไร ๆ ลำบากได้ ดั้งวิริยะราญ ของพระอินทร์ที่ปล่อยออกไปแล้ว (ไม่มีอะไรจะลังได้) นะนั้น ย่อม เกิดขึ้นแก่พระโอติ (ผู้ได้อุทธพยญาน) นั้น ผู้พิพิจารณารูปธรรม และอธิปธรรมทั้งหลายอยู่ [ปิติ] ข้อว่า ปิ๋ เป็นในวิปัสสนาปิติ (ปิติในวิปัสสนา) นัยว่า ในสมัย (คือเวลาที่เกิดอุทธพยญาน) นั้น ปิติทั้ง ๕ อย่างนี้ คือ ทุกทุกปิติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More