วิญญาณภิรม ตอน 2 (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 169
หน้าที่ 169 / 329

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการวางแขนในสังข์และการเผชิญหน้ากับความน่าเกลียดในชีวิต โดยการหันหาจิตใจให้พ้นจากภพและนิรทุกข์ การศึกษาความหมายของการเป็นกลางและการไม่ยึดติดในสังข์ เป็นแนวทางสู่พระนิพพานที่แท้จริง ทั้งยังเน้นให้มองเห็นความสำคัญของการตั้งมั่นในจิตใจที่มีสมาธิและการปล่อยวาง.

หัวข้อประเด็น

-การวางแขนในสังข์
-ความน่าเกลียดในชีวิต
-การเป็นกลาง
-การพิจารณานิพพาน
-แนวทางสู่พระนิพพาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิญญาณภิรม - ตอน 2 (ตอนจบ) - หน้าที่ 169 เป็นกลางวางแขนได้เป็นแท่นใจ พระ โอวาทนี้ก็คือนั้นเหมือนกัน เป็นผู้ใครจะพ้นไปเสียจากสังข์ทั้งปวง จึงกำหนดสังข์ทั้งหลายด้วย ปฏิสานูปนาลา ฯ เมื่อไม่เห็นความสังข์ทั้งปวงเป็นสิ่งที่น่าเกลี่ยอา ว่าเป็นเรา เป็นของเราแล้ว ก็จะความกลัวและความยินดีเสีใด ก็ ย่อมเป็นผู้เป็นกลางวางแขนในสังข์ทั้งปวงได้ เมื่อเธออยู่ย่างนั้น เห็นอย่างนั้น จิตย่อมถอย ย่อมหด ย่อมกลับ ไม่หยิยชื่นไปใน ภพ ๓ กำเนิด ๔ คติ ๕ วิญญาณธี ๓ สัตตวาส ๖ อุบกขา (ความวางแขนในสังข์ทั้งหลาย) หรือปฏิญาณตา (ความน่าเกลียด แห่งสังข์ทั้งหลาย ?) ย่อมตั้งมั่น เปรียบเหมือนหยาดน้ําหลาย (อันตกลง) ในใบทุ่มเทียงหน่อยมหนึ่ง ย่อม (กลิ้ง) ถอยกลับ (ลง น้ำ) ไม่ (กลิ้ง) ยึดไป (ในใบทุ่ม) ฉันใด ก็ฉันนั้นเหมือนกัน... อันงั่งวางแขนใน หรือเดินและนั่งใน ต้องไฟใช้อย่าหมด ออกกลับไม่หยิยดไป (ในไฟ) ฉันใด จิตของพระโอกาวรนั้นย่อมถอยอ ย่อมหดอย่กลับไม่หยิยดื่นไปในภพ ๓ อุบกขา หรือปฏิญาณตา ย่อมตั้งมั่นนั้นนั้น อันสังข์ราคาทิวา ย่อมเป็นอันเกิดขึ้นแต่พระโอกาวรนั้น ด้วยประการะนี้ [สังข์ราคาทิวาเหมือนกันกานภาคคิ] แต่ว่่าสังข์ราคาทิวานี้นั้น ถ้าเห็นพระนิพพานอันเป็นสัมบิฬ * ความวางแขน กับความน่าเกลียด จะเป็นพวกเดียวกันได้อย่างไร นก็ไม่เห็น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More