วิถีธรรมกรรม: การเข้าถึงการระงับแห่งสังขาร วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 284
หน้าที่ 284 / 329

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้มุ่งเน้นไปที่การระงับความไหวหวั่นในชีวิตผ่านการปฏิบัติตามแนวทางธรรมกรรม โดยนำเสนอความสำคัญของการพิจารณาสุขทุกข์ ความต้องการ และการระงับอวิชา ซึ่งเป็นเส้นทางที่นำไปสู่ความสงบสุข การศึกษาทั้งหมดนี้จะมีความเชื่อมโยงกับแนวคิดของวิปัสสนาและการถูกต้องตามธรรมศึกษาต่อเนื่อง, ช่วยให้ผู้ปฏิบัติไปถึงความรู้ที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับอัตตา และการดำเนินชีวิตอย่างมีสติ.

หัวข้อประเด็น

- วิถีธรรมกรรม
- การระงับสังขาร
- ความสุขและทุกข์
- อวิชาและกิเลส
- วิปัสสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคส- วิถีธรรมกรรมแปลภาค 3 ตอน 2(ตอนจบ) หน้าที่ 284 อรรถคือไม่วันไหวในเพราะสุขสัญญา (ความสำคัญว่าเป็นสุข) ด้วย ทุกข์ปัจจนาถา...เพราะอรรคือไม่วันไหวในเพราะอตสัญญา(ความ สำคัญว่าอัตตา) ด้วยอนัตตานุปิสนา...เพราะอรรคือไม่ววันไหว ในเพราะนันทิ (ความเพลิดเพลิน) ด้วยพิจารณานุปิสนา...เพราะอรรถ คือไม่ววันไหวในเพราะระกะ ด้วยวิราคานุปิสนา...เพราะอรรถคือ ไม่ววันไหวในเพราะสมุทัย ด้วยนิราธานุปิสนา...เพราะอรรถคือไม่ หวั่นไหวในเพราะอาทาน (ความผิดไว้) ด้วยปฏิสัสสาคุณูปการ ชื่อว่า วิปสนาทละ เพราะอรรคือไม่ไหว ไม่หวั่นไม่สั่นในเพราะอวิชา ในเพราะกิเลสที่สักกรกับอวิชา และในเพราะนันทิ (ที่สมปุญกกับ อวิชา) นี้ วิปสนาทละ [ความระงับแห่งสังขาร 3] ในข้อว่า "และเพราะความระงับไปแห่งสังขาร 3" ถามว่าเพราะ ความระงับไปแห่งสังขาร 3 เหล่าไหน กล่าวว่าจึงสังขารคืออาสาสะปริสสา ของผู้เข้าพุทฆาม다고บรรยายว่ากายสังขารคืออาสาสะปริสสา ของผู้เข้ามุทฺฏཎྱ๎บำ ชุดฤดูหนอธิบายว่าสัญญาและเวทนาของผู้เข้าขา ชื่อว่าสัญญาและเวทนาของผู้เข้าขา [ความจริยา 16] ในข้อว่า "ด้วยจัญญาเรื่อย 16" ถามว่า ด้วยจัญญาเรื่อย 16 เหล่าไหน แก้วว่าอนิจจานุปัสนา ชื่อว่า จัญญาเรื่อย ทุกขานุปัสนา...อนัตตานุ-
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More