วิจักษณ์ธรรมเทศนา ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 253
หน้าที่ 253 / 329

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทความนี้เน้นการพิจารณาและวิเคราะห์ธรรมเทศนาเกี่ยวกับสังจะ ๔ สมอารมณ์ โดยวิเคราะห์ถึงอาการและความเป็นหนึ่งของอารมณ์ ความรู้ในญาณที่เกิดขึ้นกับทุกข์ และการทำความเข้าใจในธรรมผ่านการเห็นและรับรู้สังจะ รวมถึงความหมายของอรรถในแต่ละข้อ เช่น การเข้าใจความเป็นโรคหรือความเป็นฝี นอกจากนี้ยังมีการอุปมาถึงการเห็นทุกข์จากญาณและอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดผ่านการศึกษาและรับรู้ธรรมอย่างลึกซึ้งผ่านการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสังจะและปัญญา การเชื่อมโยงกับความรู้ในการเห็นและการเข้าใจในสิ่งเล็กๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของทุกข์และสังจะ

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์ธรรมเทศนา
-สังจะ ๔ สมอารมณ์
-อรรถในการขัดข้อง
-การเห็นและความรู้ในธรรม
-ความทุกข์และปัญญา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคสั้น - วิจักษณ์ธรรมเทศนา ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) - หน้าที่ ๒๕๓ สังจะ ๔ สมอารมณ์ (คืออรณ์) เข้าบันหนึ่ง โดยอรรถคือความเป็น อย่างนั้นด้วยอาการ ๑๖ เหล่านี้ ส่งใดส่งเราะให้เข้าเป็นหนึ่งได้ ส่งนั้น ก็เป็นอนุคตะ (คือเป็นอันเดียว) ส่งใดเป็นอนุคตะ ก็อรัญรู้ส่งนั้น ด้วยญาณเดียวได้ เพราะเหตุนัน สังจะ ๔ จึงเป็นเอกปฏิวรฺ ดังนี้ ในข้อนั้น หากมีคำถามว่า "โดยที่อรรถ (คืออารฺ) อื่น ๆ อีก เช่นความเป็น (ดัง) โรค ความเป็น (ดัง) ฝี แห่งสังจะมีทุกข์- สังเป็นนั้นอัญญ์ เมื่อเป็นเช่นนั้น เหตุในาทำกล่าวอรรถแต่"สัง"ล่ะ? ในข้อนั้น ข้าพเจ้าทั้งหลายขอแก้ว่า เพราะอรรถ (ในสังจะหนึ่ง) ปรากฏชัดได้ด้วยอณาจการเห็นสังจะอื่น ด้วยว่า สังจาน ท่านกล่าวไว้โดยมีสังจะแต่ละข้อจะเป็นอารมณ์ โดยย่อว่า "ในญาณเล่านั้น ญาณในทุกจะเป็นในน ได? ปัญญา ความรู้ตัวอันใด ปรากฏทุกข์ขึ้น (ความรู้นี้ชื่ออาญณในทุก) จงนี้เป็นต้นก็มี กล่าวไว้โดยความทำสังจะหนึ่งให้เป็นอารมณ์ สำเร็งในสังจะที่ เหลือด้วย โดยย่อว่า "อธิภพทั้งหลาย ผู้ในเห็นทุกผู้ นั้นย่อม เห็นแม้ทุกข์ท้อด้วย" ดังนี้เป็นต้นก็มี ในการเห็นสังจะ ๒ นั้นน เมื่อใด พระโภคาวจรทำสังจะแต่ละข้อให้เป็นอารมณ์ เมื่อฉัน เพราะ ๑. ข.ป.๔๕๒ ๒. ในประโยค คำ ยา ต้นประโยค ไม่เห็นทางจะแปลให้ได้ความอย่างไรเลย สนับสนุนว่า เป็น ยักษ์ พอแปลให้ได้ความได้ดังที่แปลไว้ในนี้ ๓. ข.ป.๑๓๘๔ ๔. ส. มหาวาร. ๕/๕๔
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More