วิญญาณรสแปลภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 209
หน้าที่ 209 / 329

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้นำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับอุปมาณและโคตรภูญาณ โดยใช้คำอุปมาแสดงอาการและวิถีของจิต รวมถึงการเคลื่อนที่ของพระโคทาวุรเพื่อสื่อถึงหลักการทางธรรมซึ่งไม่มีอุปปาหะ การแสดงถึงความเกี่ยวโยงของรูปและอิทธิพลต่างๆ ในชีวิตประจำวันซึ่งมีผลกระทบต่อจิต เมื่อเข้าใจในแง่มุมต่างๆ จะสามารถเข้าถึงธรรมอันไม่มีอุปปาหะได้อย่างชัดเจน ผ่านการตีความในหลักธรรม.

หัวข้อประเด็น

-อุปมาณและโคตรภูญาณ
-การเคลื่อนที่ของจิต
-ความสำคัญของรูปและอิทธิพลในชีวิต
-ธรรมอันไม่มีอุปปาหะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิญญาณรสแปลภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) - หน้าที่ 209 รู้ใครรองงำเสียซึ่งอุปปาหะแล้ว แม่ไปสู่ธรรมอันไม่มีอุปปาหะ เหตุนี้ ความรู้นันจึงชื่อโคตรราก์ ดังนี้เป็นอาทิตย์ สุดตอบทั้งวงพึ่ง (นำมากกล่าว) ให้พี่ดาราถิก [อุปมาณตนแห่งอุปมาณและโคตรภูญาณ] ในการทำของอุปมาณและโคตรภูญาณนั้น นี่เป็นอุปมา แสดงอาการเป็นไปในอรมณ์ต่าง ๆ แห่งอุปมาณและโคตรภูญาณ ซึ่งมันเป็นไปในวิถี (จิต) เดียวกัน โดยอาจจะชะเดียวกัน (ดังต่อไปนี้) เหมือนอย่างว่า บูรฬผู้ว่านคระโคดข้ามเมืองใหญ่ (ไป) ยืนที่ฝังนอก วิ่งมาด้วยกำลังเร็ว คว้าเชือกที่ผูกห้อยไว้ที่กิ่งไม้หรือไม้ เสา (ที่ปักไว้) ริมฝั่งในของเมือง โหนตัวขึ้นแล้ว (โยนตัวให้) มี กายหน่อมในตรงไปยังฝั่งนอก ถึงจึงส่วนเมืองบนของฝั่งนอก ถึง ปล่อยเชือกหรือไม่เส้นนั้น ตัวตนอยู่คล้องที่ฝั่งนอกรึแล้ว จึงยึดยืนขึ้น ฉันใด แม้พระโคทาวุรนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน เป็นผู้ใครตังมันใน พระธนพานอันเป็นฝังนอกของ ภพ กำเนิด คติ จิติ และนิวาส ทั้งหลาย แล่นมาด้วยกำลังมือทัพพายปะหนะเป็นต้น คว้าเชือกคือ รูป (ขันธ์) ซึ่งลูกเล้ยมุ่งกึ่ง่งไม้หรืออ็อกกาว หรือไม้สล้องมาขึ้น มิเวทนาเป็นต้นขึ้นซึ่งก็ด้วยอิวชนะแห่งอุปมาณว่าว มันไม่เกี่ยว หรือว่ามันเป็นทุกข์ หรือว่ามันเป็นนัดตาแล้ว ยังไม่ ปล่อยเชือกคือรูปและไม่สำคัญนั่น โยนขึ้นด้วยอุปจิตดวงแรก * ข. ป. ๑๓/๕๕
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More