ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค- วิสุทธิมรรคเปลาก คาถ ตอน ๒ (ตอนจบ) - หน้าที่ 25
[กำหนดจับเหตุปัจจัยของนามรูป นี่ที่ 1]
ภิกษุนั้นครั้นรำพึงถึงเหตุปัจจัยของนามรูปอย่างหลายของนามรูปอย่างนี้แล้ว
ย่อมกำหนดจับเหตุปัจจัยของรูปานี้ก่อนดังนี้ว่า “ายนี้เมื่อเกิด หายได้
เกิดในภายใน (กลีบ) ดอกไม้อบอวล (บัวสาย) ปทุม (บัวกล้านสีแดง)
บุปผะริกา (บัดกานสีขาว) และ ใสคลื่นธะ (บัวผ่อนสีขาว) เป็นต้น
ไม่ หาได้เกิดในภายในรัตนชาติมีมินและมุกดาหารเป็นต้นมิ ที่แท้
เกิดอยู่ระหว่างกระเพาะอาหารใหม่และกระเพาะอาหารเก่า หันหลัง
ทางหน้าท้อง หันหน้าทางกระดูกสันหลัง มีใสแจ่มและใส้องล้อมอยู่
ตัวมันเองก็เป็นสิ่งปฏิกูลมีกลิ่นเหม็นน่าเกลียด (ยังอยู่) ในโอกาสที่ปฏิกูล
มีกลิ่นเหม็นน่าเกลียด เป็นที่ฉันเคยแบนุกราระวะตัวหนอนเกิดอยู่
ในปลาม่าน ขนมบุญ บ่อบำไสโอโรค และหลุมบำรำเป็นต้นนะนั้น
ธรรม & ประการ เป็นเหตุปัจจัยของรูปาก่อนที่เกิดอยู่ดังนั้นคืือ
ธรรม & นี้ คือ อวิชชา ตันหา อุปาทาน กรรม จัดเป็นเหตุ
เพราะเป็นตัวทำให้เกิด อาหาร จัดเป็นปัจจัยเพราะเป็นตัวอุดหนุน
อันเดียว ในธรรม 5 นั้น ธรรม 3 มีอิทธิสรเป็นต้น เป็นที่อาศัย (เกิด)
ของยาน ดีงามเป็นที่อาศัย (เกิด) ของอารักขา กรรมเป็นตัวัง
กายนี้เกิด ดูบิดายบูดให้เกิด อาหารเป็นตัวอุ้มชูอันนี้ไว้
เสมือน พี่เลี้ยงอุมาารจะนึ่ง” ครั้นทำการกำหนดจับปัจจัยของรูปาย
ได้อย่างนี้แล้ว ย่อมทำการกำหนดจับปัจจัยของนามายต่อไปโดยคั่นว่า
“ถักวิญญาณอาศัยอัฐิและรูปเกิดขึ้น” ดังนี้เป็นต้น