วิจักษ์ธรรมเปลภ ค 3 (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 61
หน้าที่ 61 / 329

สรุปเนื้อหา

ในตอนจบของวิจักษ์ธรรมเปลภ ค 3 นี้ กล่าวถึงการวิเคราะห์สัมมาสนผ่านอาการ 5 ซึ่งรวมถึงการพิจารณาเบญจขันธ์ในแง่ของทุกข์และอนัตตา โดยเน้นการทำอินทรีย์ให้กล้าเพื่อให้วิปัสสนาอยู่ในระดับที่เหมาะสม อธิบายถึงวิธีการที่ชัดเจนในการเสริมสร้างความเข้มแข็งในอารมณ์ทางธรรมให้สามารถเข้าถึงการเห็นอันลึกซึ้งผ่านการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม

หัวข้อประเด็น

-ประโยชน์ของการพิจารณาเบญจขันธ์
-การวิเคราะห์สัมมาสน
-วิธีทำอินทรีย์ให้กล้า
-อาการ 5 ในการวิปัสสนา
-ความสำคัญของสติในวิปัสสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- วิจักษ์ธรรมเปลภ ค 3 (ตอนจบ) - หน้า 61 สัมมาสน byอาการ 5 คือ ออาการเป็นฝ่ายอื่น โดยออาการว่าง โดยออาการเปล่า โดยออาการสุข โดยออาการมิใช่ตน เป็นอัศจรรย์- ปิสนา 25 โดยทำเป็น 5 ในขั้นหนึ่ง ง สัมมาสนะที่เหลือ เป็นว่า โดยออาการเป็นทุกข์ โดยออาการ เป็นโรค เป็นทุกขนูปสาน 125 โดยทำเป็น 125 ในขั้นหนึ่ง ง เมื่อพระโพธาวนัันพิจารณาเบญจขันธ์ โดยอนิจจากสัมมสนะ อันแตกเป็น 200 อาการดังกล่าวมานี้อยู่ จนถึงสัมมสนะ ทุกข์สนะ และอนัตสนะสนะ ที่เรียกว่ามันอันนั้น ย่อมจะมั่งคง นี้เป็นวิธีทำสัมมสนะ ในอธิการแห่งสัมมสนะนี้ โดยดำเนิน ตามนัยพระบาลีก่อน [ทำอินทรีย์ให้กล้าโดยอาการ ๕] แต่เมื่อโอวาทธิ์รูเขใด แม้นให้โอวาทโคดโดยวิปัสสนาดังกล่าว มานี้อยู่ นายวิปัสสนังกไม่ถึงพร้อม โอวาทธิ์รูนี้นั้นพึงอานิทรีย์ ให้กล้าอำนาอเหงอารัง ๕ ที่กล่าวไว้อย่างนี้ว่า "อินทรีย์ทั้งหลาย (มิสักธินทรีย์เป็นต้น) ย่อมกล้าแข็งด้วยอาการ ๕ คือ ดูแต่ความสั้นไป แห่งส่งของทั้งหลายที่เกิด ๆ ขึ้นน้อยเดียว ๑ ในการดูความสั้นนั้น ยังวิปัสสนาให้ถึงพร้อมโดยสตจักริตา (ทำติดต่อ) ยังคงวินิช-สนา- ญให้ถึงพร้อมโดยสัปปายะวิรา (ทำอย่างสบาย คือเสพสบายทั้ง ๓ * มหาภูติอธิบายว่า อุทธพยพฤษฎไม่เกิด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More