วิชาวิมารเปล่าก ๓ (ตอน ๒) - หน้าที่ 75 วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 75
หน้าที่ 75 / 329

สรุปเนื้อหา

บทความนี้ได้กล่าวถึงการแบ่งแยกวัยออกเป็น ๓ ช่วง คือ ปฐมวัย, มัชฌิมวัย, และปัจฉิมวัย โดยบรรยายถึงความไม่เที่ยงของรูปและลักษณะการดำรงอยู่ในแต่ละช่วงวัย ตามแนวความคิดของพุทธศาสนา สิ่งที่เป็นทุกข์นั้นก็ไม่คงทน อีกทั้งยังอธิบายถึงอนัตตาของชีวิต ที่แสดงให้เห็นว่าทุกอย่างล้วนอยู่ภายใต้การเปลี่ยนแปลง ไม่สามารถยืนยาวไปได้ตลอดเวลา ปัญหาที่สำคัญคือ ความรู้ถึงทุกข์ และการเข้าใจถึงอนัตตาที่เกิดขึ้นในแต่ละวัยเหล่านี้

หัวข้อประเด็น

-พระโอวาท
-วัย ๓
-ความไม่เที่ยง
-ทุกข์
-อนัตตา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิชาวิมารเปล่าก ๓ (ตอน ๒) - หน้าที่ 75 [ซอย ๑๐๐ ปี เป็น ๓ ส่วน] ความตกไปแห่งรูปอันเดิมขึ้น คือเจริญขึ้นด้วยอำนาจวิเศษว่า โยจุตต์ตกатьม ในคำนี้ ความว่าเกินขึ้นสู่ไรลักษณ์ด้วยอำนาจ โโยจุตต์ตกมะนั้น ยกอย่างไร? คือพระโยจุตต์ตกนั่นต่อยอดร้อยปี นั่นแหละออกด้วยวัย ๓ คือ ด้วยปฐมวัย ด้วยมัชฌิมวัย ด้วยปัจจิมวัย ใน ๓ วัยนั้น ๓ ปีแรก จัดเป็นปฐมวัย ๑๘ ปี ถัดไป จัดเป็น มัชฌิมวัย ต่อไป ๓๓ ปี จัดเป็นปัจฉิมวัย ครั้งต่อมาด้วยวัย ๓ นี้ อย่างนี้แล้ว ก็ยิ่งขึ้นสู่อีกสากล (ด้วยมนิการ) ว่า "รูปลักษณ์ไป" ในปฐมวัย ก็จะไปในปฐมวัยนั้นเอง ไม่ถึงมัชฌิมวัย เหตุนี้ รูปที่ เป็นไปในปฐมวัยนั้นก็ชื่อว่าไม่เที่ยง สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นชื่อว่าเป็น ทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นก็รู้ว่าเป็นอนัตตา รูปที่เป็นไปในมัชฌิม- วัย ลิกไปในมัชฌิมวัยนั้นเอง ไม่ถึงปัจฉิมวัย เหตุนี้ นแม้รูป ที่เป็นไปในมัชฌิมวัยนั้นก็ชื่อว่าไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา ถึงรูปที่ เป็นไป ๓๓ ปี ในปัจฉิมวัย อันจะมีความสามารถ (เป็น) ไปต่อแต่ มรณะก็อาจไม่ เหตุนี้ แม้รูปที่เป็นไปในปัจฉิมวัยนั้นก็ชื่อว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์เป็นอนัตตา" ดังนี้ [ซอย ๑๐๐ ปี เป็น ๑๐ ส่วน] พระโอวาท ครั้นยกขึ้นสู่ไรลักษณ์ โดยอ้างอาวัยปฐมวัยเป็นต้นอย่างนี้แล้ว ยกนี้สไตรลักษณ์โดย โยจุตต์ตกคะมะ ด้วยอำนาจสะ สะ ๑๐ เหล่านี้ คือ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More