วิสุทธิธรรมในภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 315
หน้าที่ 315 / 329

สรุปเนื้อหา

ในบทวิเคราะห์นี้กล่าวถึงอรรถกถาทั้งหลายในภาษาสีหลอด รวมถึงการปรับเปลี่ยนและการรวบรวมข้อมูลทางพระวินัย โดยเฉพาะการสร้างอรรถกถาจากภาษาสีหลอดเป็นอรรถกถาในภาษามคธ ที่สะท้อนถึงแนวทางและปรัชญาของการศึกษาพระธรรมและพระบาลีที่มีอยู่ในสังคมไทยในขณะนั้น โดยมีความหมายต่อการเข้าใจและปฏิบัติตามหลักธรรมที่ถูกต้องในเวลานั้น และมีการเปรียบเทียบกับอรรถกถาอื่น ๆ ที่มีความสำคัญเช่นกัน สามารถติดตามเนื้อหาเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-อรรถกถาจากภาษาสีหลอด
-ความสำคัญของพระบาลี
-การปรับเปลี่ยนภาษาในการศึกษา
-อรรถกถาในพระวินัย
-การจัดเรียงอรรถกถา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิสุทธิธรรมในภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) - หน้าที่ 314 อรรถกถา กุรุทอรรถกถา อรรถกถาที่ได้ฉันสู่มหาสังDimension พระมหินทรนำมาแต่งไว้ใน ภาษาสีหลอด ชื่อว่า มหาอรรถกถา เรือนแพมีอยู่หลังหนึ่งมีชื่อในภาษาสีหลอดว่าปังจริง อรรถกถา ที่การภิกขุนประจักษ์ในที่เรือนแพนี้นั่น ชื่อ ปัจเจียอรรถกถา มีวิหารแห่งหนึ่งชื่อ กุรุทอรรถกถา วิหารที่การภิกขุน ประชุมกันในวิหารนั้น ชื่ออรรถกถิอรรถกถา วาตที่พระเถระปางก่อนมีพระเถระภิกษาจารย์ (อาจารย์ชั้นผู้ใหญ่?) เป็นต้น ถือเอานัยพระบาลีแต่งไว้ ชื่ออรรถรา ชั้นแรก ท่านพุทธโมษะปริวรรตคุณที่อรรถกถาจากภาษาสีหลอด ทำอรรถกถาพระวินัยปก ชื่อสมมุติว่าในภาษามคธแล้ว ต่อ นั้น ในพระสุดต้นปิฎก ปริวรรตมหาอรรถกถาจากภาษาสีหลอดเป็น อรรถกถาที่มีนามชื่อ สกลวลิสรินี เป็นอรรถกถามัชฌิมิกชื่อ ปัญญาสุธนี เป็นอรรถกถาสังสุทนิกาย ชื่ออรรถคาถาปลาสนิ และเป็น อรรถกถาจองอุตรนิกาย ชื่อโนรปกรณ์นี้ ต่อฉนั้น ในพระอจิรามปิโก ปริวรรตปัจเจียอรรถกจากภาษาสีหลอด ตั้งเป็นอรรถกถาปรนิมาม- สังคณิ ชื่ออรรถสาลินี ในภาษามคธ เป็นอรรถกถาปรนิวัตรัง คำ สัมโมในทินทนี้ และเป็นอรรถกถา ๕ ปรณก ชื่อปรมัดทีปิณี ท่านพุทธโมษะ ได้ทำอรรถกถาสีหลอดทั้งหมดให้เป็นอรรถกถา * ไม่กล่าวถึงอรรถกถาทุกนิยเลย จะเป็นว่าในเวลานั้น ทุกนิยายังไม่ได้สรรคะห์ เข้าในพระสุดต้นปิฎกหรืออย่างไร ?
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More