แนวทางการพัฒนาวิทยาพูดในพระพุทธศาสนา วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 307
หน้าที่ 307 / 329

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับคุณสมบัติและการพัฒนาวิทยาพูดในพระพุทธศาสนา โดยเน้นที่การมีศรัทธาและวิริยะในธรรม รวมถึงความสามารถและทักษะของนักพูดที่สามารถสื่อสารได้อย่างชัดเจนและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังกล่าวถึงการทำความเข้าใจในปัญหาและการแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในกระบวนการพูด เพื่อให้การพูดที่ถูกต้องตรงตามหลักการในพระไตรปิฏกและแนวทางสอนของพระพุทธเจ้า.

หัวข้อประเด็น

-คุณสมบัติของนักพูด
-ความสำคัญของศรัทธาและวิริยะ
-การพัฒนาทักษะการพูด
-การทำความเข้าใจในปัญหาและการแก้ไข
-แนวทางการพูดตามหลักพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ปรมสุขะ สาธา พุทธี วิริยปฏิญาณ-ประดับด้วย ศรัทธา พุทธี และ วิริยะ อันหมดจดอย่างยิ่ง (2) สีลาวุทุมทวามุทวามคุณสมุทฺตเป็นอย่างดีคุณ สมุทธ์ มัชฌิส อาจจะ และอาชฺวะ มัวแต่ เป็นอาทิ (3) สกฺสมย สยมุตฺตุ คหนฺโธโคหา สมฺโภ เทน งามุงฝัก (คือวิวัจฉยข้อยุ่งยาก) ได้ทั้งในสิทธิฝ่ายตนและในฝ่ายอื่น (4) ปญฺญาเวยญุตฺตสมุทฺตสมุนาเขต-ประกอบพร้อมไปด้วย ความกระจ่างแจ้งแห่งปัญญา (5) ตีปฏิวตปาปปิ ตปป เท สตา สตตา อปปุติ- หยดาผา ปาปวานะ-มิสามารถแห่งญาณอันไม่อ้องอับในพระสัตถกษา สฺนฺตา ปรเทิฏ คืพระไตรปิฏก พร้อมทั้งธรรดา (บ) มหาวุฑฺฒารณ-เป็นนักพูดชั้นเยี่ยม พูดได้ทั้งผู้ทั้งแก่ (7) กรุณสมปดติชินตฺดุษฎปริทฺปูรณฺนิวรรตฺณอทูต-ประกอบด้วยความงามแห่งอักษรอันเป็นเลิศ ที่ความถึง พร้อมแห่งกรณี (คือเครื่องทำเสียง) ทำให้เกิดเสียงเปล่าออกมาได้คล่อง (8) ยุตฺตมตตฺตวา วาทีวเรน-เป็นนักพูดชนิดเยี่ยม พูดได้ทั้งผู้ทั้งแก่ * ยุตฺตมตตฺตวา-พูดได้ทั้งผู้ทั้งแก่ เข้าใจว่าจะได้นอกจากพระสูตรในจตุคาม ในทำนองนั้น ใช้ศัพท์ว่า ยุคปฏิกรณ์-ผู้มีปฏิกรณ์ในการพูด (ปัญหา) มุตฺตปฏิกรณ์-ผู้มีปฏิกรณ์ในการแก้ (ปัญหา) แบ่งเป็น ๔ ประเภท คือ ผู้ที่ได้แก่พูด แก้ไม่ได้ก็มี ผู้ที่ได้แต่พูด แก้ไม่เป็นก็มี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More