ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิสุทธิมรรค๑๓ ผลก ค ตอน๒ (ตอนจบ) - หน้าที่ 32
ความมึสีกลามกาม กรรมหน้านั้นและอ่อนให้ผลก่อน
กรรมที่บุคคลละลึกได้ในเวลาใกล้ตาย ชื่อว่า สันนกรรม อันบุคคลผู้ใกล้ตายอธิษฐานกรรมอันใดได้ เขาย่อม (ไป) ถิดด้วยกรรมอันเป็นนั่นนั่นแล
ส่วนกรรมออกจากกรรม ๓ อย่างนั้น ที่ได้อธิษฐานบ่อย ๆ ชื่อว่า กุศลวาสนกรรม ในเมื่อกรรม ๓ อย่างนั้นไม่มี มันก็ฏูไปสู่ปฏิสนธิได้:
[กรรมให้ผลตามกิเล ๔]
กรรม ๔ อย่าง อีกวิภาคหนึ่ง คือ ชนกกรรม (กรรมแต่งให้เกิด) อุปภัมภกรรม (กรรมสนับสนุน) อุปปีภกกรรม (กรรมบีบคั้น) อุปฆาตกรรม (กรรมตัดรอน) ในกรรม ๔ อย่างนั้นกรรมที่ชื่อชนกกรรม เป็นได้ทั้งกุศลทั้งอกุศล ชนกกรรมนี้ย่อมยังวิบากขันธ์ ทั้งที่เป็นกามาวจร และรูปาวจร อุปวาวุให้เกิด ทั้งในปฏิสนธิภายในบวกลาส ส่วนอุปภัมภกรรมไม่อาจวิบากให้เกิด (เป็นแต่) เมื่อปฏิสนธิ อันกรรมอื่นให้แล้ว ย่อมสนับสนุนสุขหรือทุกข์ที่เกิดขึ้นในวิบาก (ชันษะ) ที่กรรมอื่นให้เกิดแล้ว ให้ (สุขและทุกข์นั้น) เป็นไปนาม อุปปีภกกรรม เมื่อปฏิสนธิอ่อน
* กฎิตวามปกรามน์หวังไว้ว่าจะได้พบคำอธิบายอย่างชัดเจน ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคนี้แต่ผิดหวัง อยากจะว่าท่านไม่ได้อธิบายอะไรเลย ชี้มาคือ "ได้อาสวนะแยะๆ" เข้อีก ยิ่งทำ ไงง เพราะถ้าได้อาสวนะแยะๆ (คือทำงั้น?) แล้วจะต่างกันพหลกรรมอย่างไร? มาหลุกก็ไม่พูดถึงสิเลยด้วย (แต่ว่ทำกรรมที่ทำโดยไม่มดดาต ดวงกันคำพุทพอเข้ากรก)