ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประกอบค - วิชาคณิตศาสตร์ ตอน 2 (ตอนจบ) - หน้าที่ 252
สัจจะอิทธิยาทิษย์ แม้ในข้ออุปมานี้ก็พึงทราบตามการเปรียบอุปมัยดังนี้
คือมรรคาญอ่ำกำหนดรู้ทุกข์ ดังเรือฝนในไป ย่อมะสมุทัย
ดังเรือตัดกระแสน้ำ ย่อมรัมรอันเป็นฝั่งออกให้แจ้ง
ดังเรือไปสู่ฝั่งนอก كذلك
[รู้แจ้งอธิสังด้วยอาการ 16]
ก็แปล เมื่อมรรคนันมีญาณอันเป็นไปได้อย่างนิจ 4 อย่างโดย
นะเดียวกัน ในภาวะที่ตรัสรู้จะ ดังกล่าวมาแล้ว ดังนี้ 4 นั้นย่อม
เป็นเอกปฏิวิช (มีอาการที่จะพิสูจน์แจ้งเป็นอันเดียวกัน) โดยอรรถคือ
ความเป็นอย่างนั้น (คือเป็นจริง) ด้วยอาการ 16 ดังกล่าวว่า “สัจจะ 4
เป็นเอกปฏิวิช โดยอรรถคือความเป็นอย่างนั้น อย่างไร? ดังจะ 4
เป็นเอกปฏิวิชโดยอรรถคือความเป็นอย่างนั้นด้วยอากร 16 คืออรรถคือ
บิทัศน อรรถคือเป็นสิ่งถูกปรุงแต่งนี้ อรรถคือเรื่อร้อน อรรถ
คือเปลี่ยนแปลงไป (4 นี้) เป็นอรรถ คือความเป็นอย่างนั้นแห่งทุกข์
อรรถคือประมวลเข้าไว้ อรรถคือเหตุเข้าไว้ อรรถคือผูกเข้าไว้
อรรถคือขวางไว้ (4 นี้) เป็นอรรถคือความเป็นอย่างนั้นแห่งสุขที
อรรถคือออกไปเสีย อรรถคือทั้งไปเสีย อรรถคือเป็นสิ่งไม่ถุงแต่ง
อรรถคือเป็นสิ่งไม่ตาย (4 นี้) เป็นอรรถคือความเป็นอย่างนั้นแห่ง
นิรโธ อรรถคือปล่อยไป อรรถคือเป็นเหตุ อรรถคือเป็นดวงตา
อรรถคือเป็นอธิฏิ (4 นี้) เป็นอรรถคือความเป็นอย่างนั้นแห่งมรรค