การเห็นแจ้งในอธิปัญญาวิสนา วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 137
หน้าที่ 137 / 329

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้นำเสนอความสำคัญของการเห็นแจ้งในอธิปัญญาวิสนา ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเข้าใจความแตกดับและความว่างเปล่าของปรารถนา สามารถแบ่งออกเป็นสามประการ ได้แก่ อิทธิพลูปน ษาน และนิพพิทานูปน ษาน โดยมีการกล่าวถึงความเข้าใจในพระทิฏฐิที่มั่นคงและการเห็นการเกิด การตั้งอยู่ และการดับไปของสิ่งต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมีการอธิบายถึงความแตกต่างและความสำคัญของความเข้าใจที่ถูกต้องในหลักธรรมและการวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาปัญญาและการเข้าถึงนิพพานผ่านการเรียนรู้

หัวข้อประเด็น

- ปัญญาในการเห็นแจ้ง
- ความแตกดับ
- อุปสงฺขา ๓
- นิพพิทาน
- พระทิฏฐิที่มั่นคง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อันใดด้วย ปัญญาตามเห็นความแตกดับอันใดด้วย ความปรารถนาโดย ความว่างเปล่าอันใดด้วย (รวม ๓ ประการ) นี้ ถือว่า อธิปัญญาวิสนา (เห็นแจ้งเป็นอธิปัญญา) คำว่า "ดุลโส โจ สิจุลาสุสิ- ภิกษุผู้ลาล ในอุปสงฺขา" คือภิกษุผู้ลาลในอุปสงฺขา ๓ มีอิทธิพลูปน ษานเป็นต้น คำว่า "ดุตโส จ วิปุโลจิ-และในวิปุโล ๔" คือ ในวิปุโล ๔ มี นิพพิทานูปน ษานเป็นต้นว่า "โทษ อุปฺปธาน คฤตสา-เหตุ ที่มีความลาลาในอุปฺปธาน ๓ คือเพราะความที่เป็นผู้ลาลในความ ปรารถนา ๓ สถานนี้ คือ (ปรารถนา) โดยความสิ้น โดยความเสื่อม โดย ความว่างเปล่า คำว่า "นานาทิฏฐิสุข ๗ กุมฺม- ข้องไม่หวั่นไม่หวั่นไหว ไปในพระทิฏฐิง" คืออ่อนไม่ไหวไปในพระทิฏฐิงทั้งหลายมีประโย การต่าง ๆ มิติสติทฏิฐิเป็นต้น พระโยคาวารนั้น ไม่หวั่นไหวอยู่ยงคงมั่น มีมโนภิทาเป็นไป โดยยิ่งว่า "สิ่งที่ยังไม่ดับนั้นแหละ กำลังดับ สิ่งที่ยังไม่แตกนั่นแหละกำลังแตก" ย่อมปล่อยนิ่งแห่งความเกิด ความตั้งอยู่ และความเป็น ไปแห่งส่งทั้งปวงเสียว แล้วดูแต่ความแตก (ของมัน) อย่างเดียว เหมือนดูความแตกของภานะ โทมน า ที่คนทุบอยู่ เหมือนดูกาความแตก (กระจาย) ของฝุ่นละอียดที่คนโปรยอยู่ เหมือนดูกาความแตกของมลครางา * ท่านแก้พักดังนี้ ก็เป็นอันว่า ดุตโส โจ และ ฐุลสา เป็นวิตติวิปาสะเป็นแตก อนุปสมฺพนา ๓ คือฉินจางุปสนา ทุกขานุปสนา อนติทานุปสนา วิปสนา ๔ คือ นิพพิทานูปน ษานะ นิโรธานุปสนา ปฏิสนธิคภาวะเป็นต้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More