อารมณ์มนุษย์และความแตกดับ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 135
หน้าที่ 135 / 329

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สรุปการวิเคราะห์ว่าอารมณ์มนุษย์มีลักษณะเฉพาะโดยมีความแตกดับเป็นปกติ ทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ตามที่พระโพธิญาณได้กล่าวไว้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการกำหนดอารมณ์ทั้งสองส่วนให้อยู่ในสภาพเดียวกันช่วยให้ทราบถึงความแตกดับที่เกิดขึ้น และความหมายของคำว่า 'นิรโธ' ซึ่งสื่อถึงความดับที่แท้จริง ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ศึกษามองเห็นความจริงและความหลุดพ้นจากกิเลส ความแตกดับนั้นเป็นธรรมชาติที่พึงตระหนักถึงในทุกช่วงเวลา โดยสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้.

หัวข้อประเด็น

- อารมณ์มนุษย์
- ความแตกดับ
- สภาพส่งธ
- พระโพธิญาณ
- ความหลุดพ้น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิถีธรรมกรมแปล ภาค 3 ตอน 2 (ตอนจบ) หน้า 135 ข้อว่า "อารมณ์มนุษย์แยแวน อุโล เอวาวุธนา" - กระจิราบ ที่กำหนดอารมณ์ทั้ง 2 ส่วนว่ามีสภาพเป็นอย่างเดียวกัน ตามอย่างอารมณ์นั้นแหละ" ความว่า กำหนดอารมณ์ทั้งสองส่วน โดย (วา) มีสภาพอย่างเดี๋ยวกัน ดังนั้นว่า "ส่งธ (ปัจจุบัน) นี้ แตกดับอยู่อย่างใดแม้งสังวาในอดีกก็แตกดับมาแล้ว ส่งธในอนาคตเล่า ก็ย่อแต่แตกดับ อย่างนั้น" ตามอย่างคอตามแบบอารมณ์ที่เห็นแล้วโดยประจักษ์นั้นแหละ ความนี้ แม่พระโพธิญาณทั้งหลายก็ได้กล่าวไว้ว่า "พระโพธิวามผู้มีความเห็นความจดแล้ว ในส่งธอิ่มอยู่ (คือที่เป็นปัจจุบัน) ย่อม นำความเห็นตามแบบความเห็นอันนั้นไป (ใช้) ในส่งธที่เป็นอดีตและอนาคต (ด้วย) ว่า สังวรทั้งปวงมีความแตกทำลาย ไปเป็นปกติ ดังหยาดน้ำค้าง เมื่อลวง อากิณฐ์ขึ้นแล้ว (เพื่อดั่งไป) นั่น" คำว่า "นิรโธ อธิธุตด-ความนี้ก็ลงไปความดับ" ความว่า ความที่ทำการกำหนดส่งธสองส่วนเป็นอย่างเดียวกันด้วยอำนาจ ความแตกดับอย่างนั้นแล้ว นิรโธลงไปเป็นความดับ กล่าวคือความ แตกนั้นเท่านั้น หมายความว่า (นิรโธ) หนักไปในความดับนั้น (นิร) * คำทื่นโร่ โดยกล่าวใช้ในอรรถที่หมายถึงมรรคผลที่พาน เมื่อมาใช้ในรถนี้ จึงต้องใจกวามไว้ว่า หมายเอ็งงค์ ความแตกดับแห่งส่งธ เพื่อให้ทราบว่า ไม่ใช่ความ ดังกิเลส
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More