ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิสุทธิมรรคแปลภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) หน้า 149
ด้วยความหมายว่าทั้งหมด เหตุนี้จึ่งได้กล่าวว่า ปัญญาในกุศลปฐม
เป็นอาทิเนวนาญ""
[แก่อรรถบถอีหื่นญาณ]
ในปฐมจะเหล่านี้ กล่าวว่า "อุปปาทะ" ได้แก่ความอุปปฐันใน
ภาพนี้ เพราะปัจจัยคือธรรมในกพ่อน ปฐมว่า "ปัจตะ" ได้แก่
ความหมุนไป (ในปฐพี) แห่งสงสารธรรมที่เกิดขึ้นแล้วอย่างนั้น
ปฐมว่า "นิสิทธตะ" ได้แก่มนิสิทธิคือสงสารทั้งหมด ปฐมว่า "อายหนา"
ได้แก่กรรม (ในปฐพี) อันเป็นเหตุแห่งปฏิสนธิ (ในพกพ) ต่อไป
ปฐมว่า "ปฏิสนธิ" ได้แก่ความอุบัติขึ้น (ในพกพ) ต่อไป ปฐมว่า
"คติ" ได้แก่คำที่ปฏิสนธิมิขึ้น ปฐมว่า "นิพพิตตต" ได้แก่ความ
กำเนิดแห่งขันธ์ทั้งหลาย ปฐมว่า "อุปปติ" ได้แก่ความเป็นไปแห่ง
วิบาก ที่กล่าวไว้ย่อมมีแก่ผู้ถึงพร้อมบ้างแก่ผู้ถึง
บ้าง" ปฐมว่า "ชาติ" ได้แก่ชาติที่มีเพราะปัจจัยคือภาพ เป็นปัจจัย
แห่งทุกข์ทั้งหลายมีธาตุเป็นต้น ธรรมทั้งหลายมีธาตุและมรณะเป็นอาติ
(มีความ) ปรากฏ (ชั่ว) แล้วนั้น ก็แสดงในธรรมเหล่านี้ ธรรม ๕
มีอุปกะเป็นต้นเท่านั้น ท่านกล่าวโดยเป็นวัตถุ (ที่ตั้ง) แห่งอาทินว-
ญาณ ธรรมที่เหล่านท่านกล่าวโดยเป็นไวจนของธรรม ๕ นี้ แท้จริง
คำ ๒ คำคือ นิพพิตตต ชาติ ที่เป็นไวจนของอุปปาทะและของปฏิสนธิ
นั่นเอง ๒ คำคือ คติ อุปปติ นี้เป็นไวจนของปัจเจตะ ธารา เป็น