วิสุทธิมรรค เล่ม ๓ ตอน ๒ - ประจักษ์ทางปัญญา วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 324
หน้าที่ 324 / 329

สรุปเนื้อหา

บทนี้สรุปถึงการถามตอบเกี่ยวกับความเข้าใจในมิจฉา ในการศึกษาเรื่องวิสุทธิมรรคและแนวทางการเรียนการสอนภาษาบาลีให้แก่นักเรียน พร้อมการแบ่งปันประสบการณ์ในการทำงานซึ่งรวมไปถึงการแปลและการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับพระสูตร นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงความพยายามในการเสริมและอธิบายความรู้เพื่อให้เข้าใจยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในระดับ ป.ฉ. ๘ เพื่อที่จะให้นักเรียนผู้อ่านสามารถเรียนรู้และเข้าใจเนื้อหาในบริบทที่เทียบเคียงได้ในหลายด้าน

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาในภาษาบาลี
-การตีความวิสุทธิมรรค
-ความสำคัญของการแปล
-ประสบการณ์ในการบรรยาย
-การพัฒนาความรู้และความเข้าใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - วิสุทธิมรรค เล่ม ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) หน้าที่ 323 วิสุทธิมรรค ท่านถามกันว่า "มหามนจะเปลี่ยนได้ตลอดรี" จีริน ท่านว่า "มิจฉาเป็นคู่มือ คงจะพอคำเปล่าไปได้" ท่านถามอีกว่า "มิจฉวาสุทธิมรรคณะ มหามนจะอ่านออกรี" เรียนท่านในขณะนั้นว่า "ยังไม่ได้อ่าน" ที่ท่านถามเช่นนี้จะหมายความว่ากระไร ก็อนคิด "เห็นได้ ในสมัยที่ท่านเรียนนัน คงมิวิสุทธิมรรคและภูมิญาณจริเอกอยู่ ในใบลานด้วยอักษรบ่อบ ยิ่งทีความอยากและความยิ่งเป็นหลายเท่า ท่านปรีณามาก่อนแล้ว เมื่อเริ่มเปล่านเป็นปลาย พ.ศ.๒๕๖๖ ข้าพเจ้างานของมหามงกฏ ฯ อยู่แล้วอย่างหนึ่ง คือบรรยายวิชาขรศพระสูตรในภาคการศึกษา ฯ อยู่ม่านท่านมอบให้อต่ออย่างหนึ่ง คือเป็นบรรทาธิการวารสารธรรมจัญญู จึงเป็นงานประจำ ๑ อย่างงร (โดยมากเป็นงานแปล) มีอีกต่างหาก ต้องแบ่งเวลากำมักระทั่งกลางคืน งานเปลววิทธิทรจึงทำได้สัปดาห์ละไม่เกิน ๓ วัน ก็ยาก ไม่มีวันหยุดเหมือนกัน ในการเปลาณ ความมุ่งหมายหลัก ก็เพื่อให้เป็นคู่มือแก่นักเรียนภาษา บาลี เพราะมีวิสุทธิมรรคเป็นหลักสูตรประกอบ ป.ฉ. ๘ และ ๘ พร้อมกันนั้น ก็พยายามกลาสนวนให้ท่นที่เป็นนักศึกษาความรู้จะอ่านเอาความได้ด้วย แต่ข้อความและพึงชนะลงข้ออันไม่ขวา พอจะแปลและเขียนลงไปได้ทันที และสำนวนบาลีเป็นอย่างสนวนบาลี (หรือว่าจะสนวนท่านพระพุทธโมสะก็ได้) ผู้ไม่สนวนของท่าน ย่อมเข้าใจภายในว่า ด้วยเหตุนี้ ข้าพเจ้าจึงพยายามเพิ่มเติมเสริมความลงเล็บไว้ และวินิฉัยอธิบายขยายความตามมัญญาและอัตโนมัติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More