วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๓ ตอน ๒ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 208
หน้าที่ 208 / 329

สรุปเนื้อหา

บทสรุปเกี่ยวกับการเข้าถึงการรู้แจ้งในธรรม ผ่านโคตรภูญาณและการปฏิบัติตามเนื้อหาที่เกี่ยวข้องในพระพุทธศาสนา ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของจิตที่บริสุทธิ์และการบรรลุถึงนิพพานโดยไม่กลับไปเวียนว่ายในภพชาติอีก การค้นหาโคตรภูญาณช่วยให้เข้าถึงธรรมอันสูงสุดและเกิดความรู้จากภายในที่ไม่มีอุปสรรค ทั้งนี้ยังมีการอธิบายเกี่ยวกับสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นจากการหมุนเวียนในวัฏฏะ

หัวข้อประเด็น

-โคตรภูญาณ
-นิพพาน
-การศึกษาพระธรรม
-คุณลักษณะของมรรค
-การปฏิบัติในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประมาณ - วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) -หน้าที่ 208 [โคตรภูญาณ] ลำดับนั้น เมื่อมิตตามภัและบัตตามภังทั้งปวงปรากฏโดยเป็นเครื่องกั้นแกลเขาแล้ว ในที่สุดเต่าเสนะแนวนโลภิญาณ (คือในลำดับแห่งอโลภา) โลภภิญาณทำพระนิพพานอันไม่มีมิมิต ไม่มีปวดตา ปราศจากสังขาร เป็นนิรโรที่(ดี) ให้ให้เป็นอามนี โพลก้าวเลี้ยงเสียชีวิตโคตรภูญาณ ชื่อภูญาณ ภูมิ-บุญ ก้าวสู่โคตรอริยะ ชื่ออริยะ ภูมิอริยะ เป็นปฐาวัชนะ (ความมินนิกนวครังแรก) ปฐวาอิโก (ความคานิกนวครังแรก) ปฐม-สมํานาหาร (ความประมวลจิตครั้งแรก) ในพระพุทธานุ ยังความเป็นปัจจัยแห่งมรรคโดยอาทิภ ผัวนาอาจนตรปัจจัย สมัตร-ปัจจัย อาณสวนใจจัย อุปสรรคใจจัย อติปริจจัย และวัดปัจจจัย ให้สำเร็จ เป็นบุญเนื่องยอด เป็นศิระของวิปสนา ไม่เวียนกลัอีก (เพราะเกิดขึ้นครั้งเดียว) เกิดขึ้น ซึ่งท่านหมายถึง กล่าวไว้ (ในปฐ-สัมมาวิหาร) ว่า “ความรู้ในอันหมุนกลับคือออกจากสั่งภายนอก (คือสั่งขา) ได้ชื่อว่าโคตรภูญาณเป็นอย่างไร ? ความรู้ใดครองงำเสียได้อุปบาท เหตุนี้ ความรู้ในชื่อโคตรภู ความรู้ใดครองงำเสียได้ซึ่งวัตตา ฯลฯ ซึ่งอุปายาส เหตุนี้ ความรู้ในชื่อโคตรภู ความรู้ใดครองงำเสียได้ซึ่งสิ่งภายนอกคือสิ่งธรรมนิมิต เหตุนี้ ความรู้นั้นจึงชื่อโคตรภู ความรู้ใดแล้นไปสู่ธรรมอันไม่มีอุปบาท เหตุนี้ ความรู้ นั้นจึงชื่อโคตรภู ความรู้ใดแล้นไปสู่ธรรมอันไม่มีวัตตะ ฯฯ ไม่มีอุปายาส เป็นที่ที่ควรอธิบาน เหตุนี้ ความรู้นี้จึงชื่อโคตรภู ความ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More