ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยคส- วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) หน้าที่ 127
ความถูกบีบคั้นอยู่เนื่องนิสัย อาการคือความถูกบีบคั้นอยู่เนื่องนิสัย เป็นลักษณะของความเป็นทุกข์
อนึ่งกล่าว ก็เป็นธรร๗ เช่นกันและหล่ะ ชื่อว่านั้นเป็นอนัตตา เพราะว่าหลวง
"ย่อ ทุกข์ ทนทุกข์- สั่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเองเป็นอนัตตา "เพราะ
อะไร เพราะความไม่เป็นไปในอำนาจ (ของใคร) อาการคือ
ความไม่เป็นไปในอำนาจ (ของใคร ฯ)เป็นลักษณะของความเป็น
อนัตตา
พระไตรปิฎกวรวธี ย่อมกำหนดหมายลักษณะ ๑๓ ลักษณะฯ
ทั้งปวงนี้นั้นตามสภาพที่เป็นจริงได้ ด้วยอุทิพพายุปสนามญาณที่
ผ่องพันจากอุณิสนแล้ว นับเป็นวิปสนอันดำเนินไปตามวิถี เมื่อ
เธอกำหนดหมายได้อย่างนั้นแล้ว พินิจพิจารณา ธรรม และอรูปธรรม
ทั้งหลายว่าไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนันต์ตามไปแล้ว ฯลฯ ฯลฯ ญาณนั้นย่อม
จะเป็นไปตามกล้า สังขารทั้งหลายก็จะปรากฏ (โดยเกิดดับ) เร็วครั้ง
ญาณเป็นไปตามกล้า ครั้งสังขารทั้งหลายปรากฏเร็ว ญาณย่อมไม่ประสบ
(คือไม่เกิดา ปล่อยเสีย) ซึ่งความเกิดขึ้น หรือความตั้งอยู่ หรือ
ความเป็นไป หรือมิติกาม สติ (คือความระลึกรู้) ตั้งแต่เจ็ดแต่อยู่แต่
ในความสิ้น ความเสื่อม ความแตก ความดับเท่านั้น
[อัฏฐานอุปสญาณ]
เมื่อพระไตรปิฎกนั้นเห็นอยู่ว่า "สิ่งที่เกิดขึ้นเป็นสังขารชื่อดังนี้
* ส. สฺฺ. ๑๓/๑