ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค- วิสัฏฐิธรรมแปล กว ๓ (ตอน๒ (ตอนจบ) - หน้า 81
รูปอันเป็นไปในยามปลาย ก็คืนไปในยามปลายนั้นเอง ไม่ถึงตอนเช้าถือ
เหตุนัน รูปนั้นจึงชื่อว่าไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา"
[อยุธโดยาการ ๖ แห่งรูป]
ครั้นยกขึ้น (โดยแบ่งเป็น ๖ ส่วน) อย่างนี้แล้ว ยกขึ้นสู่
ใครลักษณะโดยเกณฑ์ (อาการ ๖ คือ) ก้าว ถอย แล้ว เหลียว คู่ เหยียด
อีกว่า "รูปอันเป็นไปในตอนก้าว ก็ขับไปในตอนก้าวนั้นเอง ไม่ถึงตอน
ถอย รูปอันเป็นไปในตอนถอย ก็ขับไปในตอนถอยนั่นเอง ไม่ถึงตอน
เหยียด รูปอันเป็นไปในตอนเหยียด ก็ขับไปในตอนเหยียดนเอง ไม่ถึงตอน
เหยียด รูปอันเป็นไปในตอนเหล่านั้น ก็ขับไปในตอนเหล่านั้นเอง ไม่ถึงตอน
เหยียด" เหตุนัน รูปนั้นจึงชื่อว่าไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา"
[อยุธกาว่า ๑ เป็น ๖ ส่วน]
แต่ถ้าทำก้าวก้าวครั้ง ๑ ให้เป็น ๖ ส่วน โดยเกณฑ์ (แบ่งท่า
เป็น ๖ ส่วน คือ) ยก อย่าง ย้าย หย่อน ยืน ใน ๖ ส่วนนัน
ยกเท้าขึ้นจากพื้น เรียกว่ากย นำเท้าไปข้างหน้า เรียกว่าข้าง เห็นตอ
หนามู ง เป็นต้นอะไร เขาแล้วอ้ายเท้าไปบงันนั้นยังนี้ เรียกว่า ย้าย
ลดท้าลงเบื้องล่าง เรียกว่าห่อน วางเท้าลงที่พื้นดิน เรียกว่า เหยียบ
คดเท้ากับดินในเวลา ยกเท้าอีก (ข้างหนึ่ง) เรียกว่าขึ้น
ใน ๖ ส่วนนันใในส่วนยก (เท้า) ฐาน ๒ คือ ปฏิวราด อาโป-
* อาการ ๖ นี้ แยกได้เป็น คูู่ คู ไม่ใช่อื่นกัน ท่านอธิบายเข้าแกลกล่าวความให้อื่นกัน
ฟังไม่ค่อยสนิทนัก