ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิจารณ์ธรรมะแปล ภาค ๑ ตอน ๒ (ตอนจบ) หน้าที่ 264
ข้อว่า "อนิมิตนุตปฺสินท" คือตอนจบชวนปนกันเอง การะ
นิจฉนิมิต (เครื่องหมายว่าเที่ยง) จึงมีได้ด้วยอนิมิตนุตปฺสินทนั้น
ข้อว่า "อปปณิธานุตปฺสินท" คือต้องทุกข์นุตปฺสินท การะความ
มุ่งหมายสุข คือลำบากสุข จึมีได้ด้วยอปปณิธานุตปฺสินทนั้น
ข้อว่า "สัญญาณุตปฺสินท" คือต้องนุตปฺสินท การะความยึด
ถือว่าด้วยอัตตามีอยู่ จึมีได้ด้วยสัญญาณุตปฺสินทนั้น
ข้อว่า "อธิฏฐิญาณธรรมวิปัสสนา" ได้แก่ความเห็นแจ้งอันเป็นไป
โดยรู้ร่องรอยรูปเป็นรูปในขันแล้ว เห็นความแตกดับแหงอรจรนั้น And
แห่งจิตที่อรจรนั้นเป็นอรจรด้วย แล้วถือเอาความว่างเปล่าด้วย
อำนาจความแตกดับว่าสังฆรณ์ทั้งหมดแทนนันแตกดับ มะระมึมีแก้
สังฆรณ์ทั้งหมด (นันแหละ) บุคคลใด ๆ อื่นหนาไม่" ที่กล่าวไว้
(เป็นกาล)ดังนี้ว่า
พิธีจริยา (รู้) อารมณ์ด้วย แล้วตามเห็นความแตก
ดับด้วย ความปรากฏโดยความว่างเปล่าด้วย (นัน)
ชื่อว่า อธิปญาณวิปัสสนา
ความเห็นแจ้งนั้น ท่านเรียกว่า "อธิปญาณธรรมวิปัสสนา" เพราะทำ
วิเคราะห์ว่า "เป็นอธิปัญญาด้วย เป็นความเห็นแจ้งในธรรมทั้งหลาย
ด้วย" การละสารทานานิวาส ย่อมมีได้ด้วยอธิปญาณธรรมวิปัสสนา
* ข. ป. ๑๓/๔๕ กาลานี้มามแล้วในปฏิปทาญาณสถานวุธินิสส ควรดูจิอรรถในที่นั้น
ด้วย (หน้า ๑๒)