ปรอทผสม- วิชาธรรมะเปล่าก คาต ตอน 3 (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 79
หน้าที่ 79 / 329

สรุปเนื้อหา

ในตอนนี้ผู้เขียนนำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการแบ่งปีเป็นส่วนต่าง ๆ ในวิชาธรรมะ อธิบายถึงความไม่เที่ยงของรูป ซึ่งมีการแบ่งช่วงฤดูกาลและระยะเวลาในแต่ละฤดูอย่างชัดเจน พร้อมสรุปแนวคิดสำคัญเกี่ยวกับความไม่เที่ยงที่เป็นทุกข์และอนัตตา ผ่านการยกตัวอย่างโดยใช้เดือนต่าง ๆ เพื่อให้เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชีวิตและธรรมชาติ บทนี้ยังยกตัวอย่างความสัมพันธ์ระหว่างฤดูกับการมองเห็นปรากฏการณ์ที่ไม่เที่ยงอีกด้วย นอกจากนี้ยังสนับสนุนให้คนเรียนรู้ที่จะปล่อยวางความยึดติดในสิ่งที่ไม่จีรัง เพื่อให้เกิดความสุขในชีวิต

หัวข้อประเด็น

-การแบ่งปีในวิชาธรรมะ
-ความไม่เที่ยงในธรรมะ
-การยึดติดและการปล่อยวาง
-การเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ปรอทผสม- วิชาธรรมะเปล่าก คาต ตอน 3 (ตอนจบ) - หน้าที่ 79 สัญญาไปแล้วในดูร้อนนั้นเอง ไม่ถึงดูฝนอีก เหตุนี้ รูปนั้นจึงชื่อว่า ไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา [ซอยปี ๑ ให้เป็น ๑ ส่วน] ครั้นยกขึ้น (โดยซอยปีเป็น ๓ ส่วน) อย่างนี้แล้ว ทำปี ๑ ให้ เป็น ๓ ส่วนอีก ยกขึ้นสู่รลักษณ์ใน วิชาธรรมะดังภาพดังนี้ว่า " รูปอัปเป็นไป ๒ เดือนในดูร้อน สถานะ ก็ยกไปในดูร้อนสะทะนั้นเอง ไม่ถึงดูฤทธิระ (สารท) รูปอัปเป็นไป ๒ เดือน ในฤทธิระ ก็ยก ไปดูฤทธิระ ค่ยุตไปในฤทธิระนั้นเอง ไม่ถึงดูสิริระ รูปอัปเป็นไป ๒ เดือน ในฤทธิระ ก็ยกไปในฤทธิระนั้นเอง ไม่ถึงดูวสันตะ รูปอัปเป็นไป ๒ เดือน ในวสันตะ ก็ยกไปใน วสันตะนั้นเอง ไม่ถึงดูคิมหะ ค่ยุตไปในคิมหะนั้นเอง ไม่ถึงดูวสันตะอี ก็เหตุนี้ รูป นั้นจึงชื่อว่าไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา" * ดูอ นี้ มหาฤกษ์ช่วยแบ่งเดือนไว้ให้ทราบดังนี้ ดูวสันตะ (ฝน) ได้แก่เดือนสวานะ (สิงหาคม) และเดือนปฏิกรณ์ (กันยายน) คฤหาระ (ไม่บรรจง) ได้แก่เดือนอัสสยะ (ตุลาคม) และเดือนตุลักษิต (พฤศจิกายน) คฤหาระ (บิษตน) ได้แก่เดือนมิถุนธาระ (ธันวาคม) และเดือนปลาสะ (มกราคม) คฤหาระ (หนาว) ได้แก่เดือนจิตรระ (เมษายน) และเดือนพุธคะ (มีนาคม) ดูวสันตะ (ใบไม้ผลิ) ได้แก่เดือนจิตรระ (เมษายน) และเดือนอาสาฬะ (กรกฎาคม)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More