วิญญาธรรมภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 188
หน้าที่ 188 / 329

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้ได้อธิบายถึงความจริงที่ว่า ชีวิตไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และอนัตตา โดยใช้เรื่องราวของยักษ์ที่กินเนื้อนมนุษย์ เป็นอุปมาของการหลีกเลี่ยงความทุกข์ การทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ ว่าเป็นเพียงความไม่เที่ยงช่วยให้เราเห็นความจริงแก่ชีวิตและสามารถหลีกหนีจากความทุกข์ได้อย่างมีสติ เหมือนการตามหานางยักษ์ในป่าช้าและรีบหนีไปยังที่ปลอดภัย

หัวข้อประเด็น

-ความไม่เที่ยง
-การหลีกเลี่ยงความทุกข์
-อุปมานางยักษ์
-วิญญาณและการตื่นรู้

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคสรร - วิญญาธรรมภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) หน้าที่ 188 รู้จักกันทั้งหลายว่า มันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยอำนาจ ใครลักษณ์แห่งพระโโยดิ ดั่งการจำว่าเป็นโคหลงต่อส่วงขึ้น ภูต- ปัญญาณ ญาณเวลา (เกิดความ) กลัวขึ้น มูฏิวัฏฐมตา ดังความที่อยากจะทิ้ง (โคหลง) ไป โคครูญ ดั่งการทิ้ง (โคหลง) มรรค ดั่งการหนี ผล ดั่งการหนีไปยังสถานที่ไม่มีภัย [ยักษี] อุปมาข้อว่า ยักษี ต่างวารผู้หญิงสำเร็จความอยู่ร่วมกับยักษ์ ตอนกลางคืน (คือดึก) นางยักษ์นั่นรู้ว่าหลับแล้ว ก็เปบ้าชาดรับ (คือป้าช้าหีเขานาคพบไปทิ้ง ๆ ไว้ ไม่ฝังไม่เผา) กินเนื้อนมนุษย์ เขา (รู้สึกตัวขึ้นไม่เห็นนางยักษ์ แกล้งใจว่ามันไปไหน จึงตามหาก็พบ นั่นกำลังกินเนื้อนมนุษย์ รู้ความที่มันเป็นนางนมนุษย์แล้ว จึงคิดว่าจะ ต้องหนีไปสละก่อนที่มันจะดำ (คิดแล้วก็คิดวาม) กลัว รีบหนีไป ยังอยู่ในที่ปลอดภัย [ประเทบความ] ในอุปมานั้น กายยึดถือบันฑลหลาย ว่าเป็นเรา เป็นของเรา เป็นดังการอยู่ร่วมกันของยักษ์ ถามเห็นใครลักษณ์แล้วรู้ความที่ขึ้นสม ทั้งหลายเป็นของไม่เที่ยงเป็นต้น ดังการเห็น (นางแปลก) กำลังกิน เนื้อนมนุษย์อยู่ในป่าช้า แล้วรู้ว่ามันเป็นนางยักษ์ ภูดูปฐฐาน ดัง การที่ (เกิด) กลัวขึ้น มูฏิวัฏฐมตา ดังความอยากจะหนี โคครู ดั่งการทิ้งป่าช้า มรรค ดั่งจิรหนีไป ผล ดั่งการยังอยู่ในที่ไม่มีภัย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More