วุฒิธิกรณ์เปล ภาค 3 (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 97
หน้าที่ 97 / 329

สรุปเนื้อหา

ในส่วนของการวิเคราะห์อธิวิทยาในพระสภา กล่าวถึงการเห็นแจ้งในสงขาร ซึ่งทำให้เกิดความเข้าใจในโพธิกุฎิ การพิจารณาและวิเคราะห์สงขารทั้งหลายนั้นอาจทำให้เราเห็นว่าไม่มีอัตตาและไม่นำไปสู่ความยินดีในทุกข์หรือสุข การมองเห็นความไม่เที่ยง ความไม่อัตตา เป็นหัวใจสำคัญที่นำไปสู่ความเข้าใจในพระธรรม โดยการแยกแยะและพิจารณาเพื่อให้เห็นถึงความจริงที่เป็นอยู่

หัวข้อประเด็น

-โพธิกุฎิ
-การเห็นแจ้ง
-สงขาร
-พระธรรม
-ความไม่เที่ยง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- วุฒิธิกรณ์เปล ภาค 3 (ตอนจบ) - หน้าที่ 97 ส่วนในอธิวิางสภา ตั้งมาโดยว่า "ทิฏฐิจฉาคุรุภูมิโต มานสมุคุม- ภูมิโต นิภคูมปริยาทนโโต" แล้วแสดงนัย (ดัง) นี้ ก็เมื่อเมื่อกล่าวว่า "เราเห็นแจ้งอยู่ ความเห็นแจ้งของเรา" ดังนี้ ไม่ชื่อว่าโพธิกุฎิ แต่ว่าก "สงขารทั้งหลายตนเองเห็นแจ้งสงขารัง หลาย สงขารทั้งหลายตนเองเห็นแจ้งสงขารัง" วิวิเคราะห์ดู... จับดู... กำหนด แยกดูสงขารทั้งหลาย" ดังนี้ จึงชื่อว่าโพธิกุฎิ เมื่อกล่าวว่า "เราเห็นแจ้งอย่าง ดีเรานเห็นแจ้งอย่างน่าอพอใจ" ดังนี้ ไม่ชื่อว่าโพธิกุฎิแต่ต่ออีกว่า "สงขาร ทั้งหลายตนเองเห็นแจ้งสงขารังทั้งหลาย สงขารังทั้งหลายตนเองจงพิจารณา... วิเคราะห์ดู... จับดู ...กำหนดแยกดูสงขารทั้งหลาย" ดังนี้ จึงชื่อว่าอุทกความยินดีไว้ได้ เมื่อเห็นว่า "ถ้าสงขารทั้งหลายพึงเป็นอัตตาไซร์ จะถือเอาว่ามัน เป็นอัตตา ก็อรศะ แต่ (นี้) มันไม่อรศะเลย มาถือเอาว่าเป็นอัตตา เพราะเหตุนี้ สงขารทั้งหลายจึงเป็นอัตตา เพราะความหมายว่า ไม่เป็นไปในอำนาจ (ของใคร) ไม่เทียม เพราะความหมายว่า มีแล้ว ก็ไม่มี เป็นทุกข์ เพราะความหมายว่าสุขสมความเกลียดและความเสื่อมบิบน ณ์" ดังนี้ ชื่อว่าโพธิกุฎิ เมื่อเห็นว่า "ถ้าสงขารทั้งหลายพึงเป็นของ เที่ยงไซร์ จะถือเอาว่ามันเที่ยงก็จะวลา แต่ (นี้) มันไม่เที่ยงเลย มา ถือเอาว่าเที่ยง เพราะเหตุนี้ สงขารทั้งหลายจึงเป็นของไม่เที่ยว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More