วิถีธรรมกรแปล ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 195
หน้าที่ 195 / 329

สรุปเนื้อหา

ในวิถีธรรมกรภาค ๓ ตอน ๒ นี้ มีการพูดถึงธรรมที่เกิดขึ้นจากสมบัติดีและการพิจารณาสมบัติธรรม โดยเน้นว่าการเข้าใจธรรมอย่างถูกต้องจะช่วยให้เห็นความจริงในธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงการพิจารณานามธรรมที่ควรทำอย่างเหมาะสม รวมถึงการอ้างอิงถึงคำสอนของพระผู้ปราบทุกข์ เพื่อยกตัวอย่างในการอธิบายธรรมอย่างชัดเจน เนื้อหาเต็มไปด้วยปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน สะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของการทำความเข้าใจขั้นตอนต่างๆ ในการเข้าถึงธรรมสูงสุด

หัวข้อประเด็น

-การพิจารณาธรรม
-วิปัสนาและอรรถวาท
-ความเข้าใจในธรรม
-การปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน
-การศึกษาเรื่องพระนันทะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิถีธรรมกรแปล ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) หน้า 195 คล้ายตน ดูคล้ายแผ่นดินทำความที่ส่องของเที่ยวคล้ายส่องตน ฉะนั้น ส่วนในอรรถวาทที่ ๒ (พึงปราบว่า) เป็นธรรมที่เกิดขึ้นโดยออ จากสมบัติดีๆ แล้วพิจารณาสมบัติธรรมทั้งหลายๆ ณ ก็เองคล้าย กับสมบัติด้านนั้นๆ และ หมายความว่า คล้ายกับสมบัติธรรมที่ผู้เป็นผู้ วิปัสสนาพิจารณา แต่ถ้าพิจารณามาวรรณธรรมทั้งหลาย ก็เป็นไปดูม- ภาวะเท่านั้น ก็แล ความกำหนด (ความแปลกกันของคำบาน- เป็นต้น) แห่งวิปัสนา แมในอรรถวาทที่ ๒ นี้ ก็พึงทราบโดยนัย ที่กล่าวแล้วนั้น ส่วนในอรรถวาทที่ ๓ (พึงทราบ) เป็นธรรมที่เกิดขึ้นโดยทำ ถามใด ๆ ให้เป็นบาท แล้วพิจารณานามธรรมใด ๆ ตามควรแก่ อธิบายสงข่อคุณ ๆ ก็ยอมคล้ายกับอานนนัน ๆ แหละ แต่ความที่ มรรคนที่เกิดขึ้นคล้ายกับานนั้น ๆ นั้น เว้นจากที่เป็นบทหรือบทที่ พิจารณาเสีย หาสำเร็จด้วยเพียงแต่ฉลาด (ของตน) อย่างเดียวได้ไม่ ความข้อนั้นนี่ พึงจะแจ้งด้วยนนักโวจากสูตร (เรื่องพระนันทะให้ โอวาทกิคุณนี) จริงอยู่ แมพระผู้พวกเจ้าก็ได้ตรัสสก (ต่อไป) นี้ไว้ (ใน สูตรนั้น) ว่า "คุณภิญทังหลาย เปรียบเหมือนว่าในวันอุโบสถ (ขึ้น) ๕ คำ ความสงสัยหรือความเคลือบแคล้วว่า "ดวงจันทร์แห่งหรือ เต็มหนอ" หากแก่ชนหมู่มาก็ ที่แท้ย่อมมีความเปลี่ยนใจว่า "ดวง จันทร์เต็ม" ด้วยกันทั้งนั้น ฉันใดดี ครูกิฤทังหลาย อภิญญูเท่าสล่า นั้น ก็เป็นผู้อื่นดี และมีความคิด (มุ่งหมาย) อันเต็มเปี่ยมด้วยธรรม-
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More