วิสุทธิมรรคเปล่า ตอนจบ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 2 หน้า 36
หน้าที่ 36 / 329

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างกรรมและวิบากว่าทั้งสองนั้นไม่สามารถแยกออกจากกันได้ โดยกรรมไม่มีอยู่ในวิมานและวิบากก็ไม่มีอยู่ในกรรม ทั้งสองปัจจัยนี้สำคัญต่อการดำเนินการในสังสาระ ไม่ว่าจะเป็นเทวดาหรือพรหมก็ตาม หากปราศจากธรรม ก็จะไม่เกิดผลใดๆ การศึกษานี้จึงเน้นความเข้าใจอันลึกซึ้งเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดขึ้นของกรรมและวิบาก อันสัมพันธ์กับการดำรงอยู่ของชีวิตในสังสาระ

หัวข้อประเด็น

- ความสัมพันธ์ระหว่างกรรมและวิบาก
- นามรูปและการสร้างสรรค์
- การดำเนินการในสังสาระ
- การตีความในแง่ธรรม
- ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดผล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิสุทธิมรรคเปล่า กด ตอน 2 (ตอนจบ) - หน้าที่ 36 ลอยไปตามกระแสน้ำก็อต้นตายอยู่ จึงไม่พันจาก ทุกปังได้ วิญญุพุทธสาวรุ้วปัญญาออนึ่ง ซึ่งความ ดังกล่าวดังนี้แล้ว จึงแทงตลอดปัจจัย (ของ นามรูป) อันลักษณะเอียด (และ) ว่างเปล่าได้ กรรมไม่มีอยู่ในวิมาน วิบากอ่านก็ไม่มีอยู่ใน กรรม ทั้งสองอย่างจากกันและกัน แต่ว่าเว้นกรรม เสีย ผลก็ไม่มี เปรียบเหมือนไฟไม่มีในดวงอสุรี ไม่มีในแก้ว (สุริยานต) ไม่มีในโคมย (คืออุปโภหังใช้) เป็นเชื้อไฟ ภายนอกก๊อตถัง 3 นั้น มันก็ไม่มี แต่มันเกิดด้วยสัมมะรังทังหลาย (คือวัตถุ 3 อย่าง นั้นรวมกันเข้า) ฉันใด วิบากอ่อมาหาราไม่ได้ใน ภายในกรรม แม้ภายนอกกรรมก็ไม่ดีได้ กรรม เล่าก็ไม่มีอยู่ในวบทัน กรรมนี้จากผล ผลก็ไม่มีอยู่ในกรรม แต่ว่าก็อาศัยกรรมมนั้น แหละ จึงเกิดขึ้น ฉันนั้น แท้จริง ในสังสาระนี้ ผู้สร้างสงสาร จะ เป็นเทวดาหรือพรหมก็ตาม หากไม่ (เป็นแต่) ธรรมล้วน ๆ ย่อมเป็นไป เพราะกรรมรวมกันเข้า แห่งเหตุเป็นปัจจัย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More