หลักธรรมสำคัญในพระไตรปิฎก GB 406 สรรพศาสตร์ในพระไตรปิฏก หน้า 79
หน้าที่ 79 / 373

สรุปเนื้อหา

บทที่ 4 กล่าวถึงหลักธรรมสำคัญในพระไตรปิฎกที่นักเรียนส่วนใหญ่คุ้นเคย การทบทวนหลักธรรมนี้ช่วยสร้างความเชื่อมโยงกับเนื้อหาในบทอื่นๆ และช่วยให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นจากการเรียนรู้ที่กระจัดกระจายอยู่ในวิชาต่างๆ โดยมีการสะท้อนถึงคอนเซ็ปต์สำคัญเช่น นิพพาน การไม่ประมาท ความตั้งใจทำดี และอื่นๆ ที่สำคัญ ซึ่งจะเน้นให้เห็นถึงการพัฒนาจิตและการปฏิบัติตามหลักธรรมทั้ง ๘ ที่เป็นกรอบในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ

หัวข้อประเด็น

-นิพพาน
-ความไม่ประมาท
-หลักธรรมสำคัญ
-การทบทวนความรู้
-การพัฒนาจิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

บทที่ 4 หลักธรรมสำคัญในพระไตรปิฎก ในบทนี้จะกล่าวถึงหลักธรรมสำคัญในพระไตรปิฎกโดยย่อ เพื่อใช้ในการอ้างอิงข้อมูล สำหรับศาสตร์ต่างๆ ในบทอื่นๆ ต่อไป ความจริงหลักธรรมต่างๆ ที่จะกล่าวถึงนี้ นักศึกษาคง ได้เรียนกันมาพอสมควรแล้ว การกล่าวถึงอีกครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อให้เกิดความสะดวก ใน การเชื่อมโยงความรู้จากหลักธรรมเหล่านี้กับบทอื่นๆ เนื่องจากหลักธรรมที่นักศึกษาได้เรียน มาก่อนหน้านี้กระจัดกระจายอยู่ในวิชาต่าง ๆ จึงไม่สะดวกต่อการนำมาค้นคว้าเปรียบเทียบกับ ศาสตร์ต่าง ๆ ในวิชานี้ และบางวิชานักศึกษาก็เรียนมานานแล้ว จึงอาจจะลืมไปบ้างแล้ว การ กล่าวถึงหลักธรรมเหล่านั้นอีกครั้งถือเป็นการทบทวนความรู้ และเป็นการตอกย้ำเพื่อให้เกิด ความเข้าใจมากขึ้นด้วย 4.1 ภาพรวมหลักธรรมสำคัญในพระไตรปิฎก นิพพาน ความไม่ประมาท ชว ละชั ทําดี สัมมากัมมันตะ สัมมาวาจา สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ * Aลลิกา ศีล ๕, ๘, ๑๐ ๒๒๗.๓๑๓ พระวินัย ๒๑,๐๐๐ ขอ สัมมาสังกัปปะ ทําใจใหไส สัมมาทิฏฐิ สัมมา สติ สัมมาสมาธิ จิตสิกขา พัฒนาจิต ศรัทธา, ทาน, ขันติ, เมตตา, กรุณา, ฯลฯ พระสูตร ๒๑,๐๐๐ ขอ พระอภิธรรม น ๔๒,๐๐๐ ขอ ภาพรวมพระไตรปิฎก ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ โดยพระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตตชีโว) 68 DOU สรรพ ศ า ส ต ร์ ในพระไตรปิฎก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More