อานิสงส์การกล่าววาจาสุภาษิต GB 406 สรรพศาสตร์ในพระไตรปิฏก หน้า 252
หน้าที่ 252 / 373

สรุปเนื้อหา

การกล่าววาจาสุภาษิตมีอานิสงส์มากมาย เช่น ทำให้ได้รับลักษณะมหาบุรุษ เช่น พระทนต์ 40 องค์ เสียงดุจพรหม และช่วยปิดประตูอบายภูมิ เสริมสร้างบารมีให้เกิดในตระกูลสูง พร้อมกับเสียงที่ไพเราะเป็นที่รักของมหาชน การสร้างบุญด้วยการพูดในสิ่งที่เป็นประโยชน์ เป็นการส่งเสริมความสุขให้กับผู้อื่นและเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันอย่างสอดคล้อง และงดเว้นจากคำพูดที่ไม่ดีต่างๆ

หัวข้อประเด็น

-อานิสงส์การกล่าววาจาสุภาษิต
-ลักษณะมหาบุรุษ
-การพูดที่มีประโยชน์
-การสร้างบารมี
-การปิดประตูอบายภูมิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

9.3 อานิสงส์การกล่าววาจาสุภาษิต อานิสงส์การกล่าววาจาสุภาษิตนั้นมีหลายประการกล่าว คือ หากสร้างบารมีเพื่อเป็น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็จะทำให้ได้ลักษณะมหาบุรุษดังนี้ คือ มีพระทนต์ (ฟัน) 40 องค์(ซี่) มี พระทนต์ไม่ห่าง มีพระสุรเสียงดุจเสียงพรหมและนกการะเวก เป็นต้น หากสร้างบารมีเพื่อเป็น พระสาวกสาวิกา ก็จะได้อานิสงส์ลดหย่อนลงมาตามกำลังบุญ นอกจากนี้การกล่าววาจาสุภาษิต ยังเป็นเหตุให้ปิดประตูอบายภูมิ ทำให้ได้เกิดในตระกูลสูง มีกลิ่นปากหอม มีเสียงไพเราะ เป็น ที่รักของมหาชน เป็นต้น ในที่นี้จะยกตัวอย่างการกล่าววาจาสุภาษิตที่เป็นเหตุให้ได้ลักษณะ มหาบุรุษ และอานิสงส์แห่งวาจาสุภาษิตของบัณฑิตในกาลก่อนดังนี้ 9.3.1 ลักษณะมหาบุรุษอันเกิดจากการกล่าววาจาสุภาษิต ล่าดับ โลก การกล่าววาจาสุภาษิต ลักษณะมหาบุรุษ 1. ละการพูดเท็จ เว้นขาดจากการพูดเท็จ พูดแต่คำจริง 1. มีโลมา (ขน)ขุมละเส้น ดำรงคำสัตย์ มีถ้อยคำเป็นหลักฐาน ควรเชื่อถือไม่พูดลวง 2. มีอุณาโลมในระหว่างคิ้ว มีสีขาวอ่อนเหมือนปุยฝ้าย ละคำหยาบ เว้นขาดจากคำหยาบ กล่าวแต่คำที่ไม่มีโทษ 1. มีพระชิวหา (ลิ้น)ใหญ่ เพราะหู ชวนให้รัก จับใจ ชนส่วนมากรักใคร่ชอบใจ 2. มีพระสุรเสียงดุจเสียง 2. 3. 4. 5. พรหม เมื่อตรัสมีกระแสดุจ เสียงนกการะเวก กล่าววาจาประกอบด้วยอรรถ ประกอบด้วยธรรม 1. มีพระบาทดุจสังข์คว่ำ แนะนำประชาชนเป็นอันมาก เป็นผู้นำประโยชน์ และ 2. มีพระโลมาล้วนมีปลาย ความสุขมาให้แก่สัตว์ทั้งหลายเป็นผู้บูชาธรรมเป็นปรกติ ร้อยขึ้นข้างบนทุกๆ เส้น ละคำส่อเสียด เว้นขาดจากคำส่อเสียด สมานคนที่แตก 1. มีพระทนต์ 40 องค์ ร้าวกันแล้วบ้าง ส่งเสริมคนที่พร้อมเพรียงกันแล้วบ้าง 2. มีพระทนต์ไม่ห่าง ยินดีในคนผู้พร้อมเพรียงกัน กล่าวแต่คำที่ทำคนให้ พร้อมเพรียงกัน ละคำเพ้อเจ้อ เว้นขาดจากคำเพ้อเจ้อ พูดถูกกาล พูดแต่ 1. มีพระหนุ(คาง) ดุจคาง คำที่เป็นจริง พูดอิงอรรถ อิงธรรม อิงวินัย พูดแต่คำมีหลัก ราชสีห์ ฐาน มีที่อ้างมีที่กำหนด มีประโยชน์ พูดโดยกาลอันควร บทที่ 9 ว า ท ศ า ส ต ร์ ในพระไตรปิฎก DOU 241
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More