ข้อความต้นฉบับในหน้า
ได้ว่าได้ทรงครองแผ่นดินโดยธรรม คือทศบารมีที่ได้ยกขึ้นถวายวิสัชนามาแล้วศกละ ๒ ข้อ โดย
ลำดับจนถึงศกนี้ คือเมตตาและอุเบกขา อันเป็นข้อครบ ๑๐ โดยเป็นมงคลวิเสส ส่วนอัตตสมบัติ
คู่กันไปกับทศพิธราชธรรมที่ได้ยกขึ้นถวายวิสัชนามาแล้วโดยลำดับ ศุกละ ๒ ข้อ จนถึงศกนี้ คือ
ขันติและอวิโรธนะ อันเป็นครบ ๑๐ ข้อ โดยเป็นมงคลวิเสสส่วนปรหิตปฏิบัติซึ่งแต่ละข้อของทั้ง
๒ หมวดนี้เทียบกันได้ และในการปฏิบัติก็อาศัยกันและกันทุกข้อ
ปฏิบัติอยู่ในทุกข้อ
จึงกล่าวได้ว่าได้ทรง
ความลึกซึ้งแห่งพระบรมราชปณิธานเป็นการแสดง ความกตัญญูกตเวทีอย่างยิ่งในพระ
ราชหฤทัยซึ่งมีต่อประเทศชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ พร้อมบริบูรณ์ แผ่นดินนี้ สมเด็จพระบรม
ราชบุพการีทุกพระองค์ทรงหวงแหนรักษาสืบต่อกันมา เช่นเดียวกับที่ทรงรักษาพระพุทธศาสนา
และสถาบันพระมหากษัตริย์ที่
ทรงมีพระบรมราชปณิธานและทรงมั่นคงปฏิบัติพระบรมราช
ปณิธานตลอดมา เป็นการทรงแสดงพระราชสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระบรมราช
บุพการี และทรงปฏิบัติสนองพระมหากรุณาธิคุณนั้น ซึ่งเป็นการแสดงความทรงมีพระราชสำนึก
และตอบสนองพระคุณ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
กรุณาธิคุณต่ออาณาประชาราฏร์ทั้งปวง
พร้อมกับพระราชทานพระมหา
เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ สมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจ้าทรง
ครองราชย์ยืนนาน ๔๒ ปี ๒๒ วัน เสมอกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระ
บรมวงศานุวงศ์รัฐบาล ข้าราชการฝ่ายทหาร ตำรวจ พลเรือน และพสกนิกร ชาวไทยทั้งปวง
สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่ได้ทรงปฏิบัติพระราชภารกิจอย่างหนัก เพื่อแผ่นดินและประชาชน
มาถึงปีที่ ๔๓ ทั้งเสด็จดำรงรัฐสีมายืนยาว ยิ่งกว่าสมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าพระองค์ใดที่
ปรากฏในพระราชพงศาวดาร เป็นที่ชื่นชมโสมนัสพันประมาณ จึงมีสมานฉันท์พร้อมกันจัดงาน
กำหนดงานพระราชกุศลและพระ
เฉลิมพระเกียรติสนองพระเดชพระคุณขอพระราชทานให้ทรง
พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ย่อเพียง
ราชพิธีรัชมังคลาภิเษก อนุโลมตามพระราชประเพณีครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้กำหนดพระราชกุศลทักษิณานุปทานและ
วัน คือ พระราชพิธีทักษิณานุปทานและพระราชพิธี
สมโภชสิริราชสมบัติรัชมังคลาภิเษก และพระราชพิธีบวงสรวงสังเวยสมเด็จพระมหากษัตริย์ใน
อดีตในวันที่ ๒ – ๓ - ๔ กรกฎาคม โดยลำดับ
๓
สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก