ความสำคัญของธรรมะและอธรรมะในชีวิต มงคลวิเสสกถา หน้า 357
หน้าที่ 357 / 390

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับผลของธรรมะและอธรรมะที่ไม่ให้เกิดผลเสมอกัน โดยธรรมะนำไปสู่นิรยาบายและอธรรมะนำไปสู่นิรยาบาย เสนอโอกาสในการพิจารณาความสำคัญของการชนะใจตน ซึ่งเหนือกว่าการชนะศัตรู รายละเอียดเกี่ยวกับการบริหารราชการที่ถูกต้องก็จะนำไปสู่ชัยชนะที่แท้จริง โดยผู้ที่ปฏิบัติธรรมจะสามารถเอาชนะกิเลสได้ และคำสอนอื่นๆ เช่น ถ้าเราเอาชนะใจตนได้เราจะพบกับชัยชนะที่ดีแท้ ทั้งในโลกและในทางธรรม จะกล่าวถึงเรื่องการสู้รบและการประพฤติปฏิบัติของพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

- ผลของธรรมะกับอธรรมะ
- การชนะตนเอง
- ความสำคัญของการบริหารราชการ
- ชัยชนะที่แท้จริง
- อุบายในการเอาชนะกิเลส

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถร) น หิ ธมฺโม อธมฺโม จ อธมฺโม นิรย์ เนติ ៣៦២ อุโภ สมวิปากิโน ธมฺโม ปาเปติ สุคคติ ។ ธรรมะและอธรรมะทั้งสอง หาให้ผลเสมอกันไม่ อธรรมะย่อมนำไปสู่นิรยาบายธรรมะ ย่อมให้ถึง สุคติ ผู้เสพธรรมะ ธรรมะย่อมส่งให้ถึงความเจริญ ผู้คบอธรรมะอธรรมะย่อมนำไปสู่ความพินาศ พระราชกรณียะ คือธัมมตาณตานี้ เป็นส่วนรัฏฐาภิบาลโนบาย ประการหนึ่ง ความมีชัยย่อมเกิดในลำดับกัน นี้เป็นผลอันท่านผู้ครองอาณาจักรจะพึงหวัง เหตุดังนั้น ผู้ อยู่ใต้ปกครองเมื่อถวายพรพระราชา จึงถวายชัยด้วยประการหนึ่ง น นํ ชินํ สาธุ ชิต ย์ ชิต อวยติ แต่การชนะที่อาจกลับแพ้ได้ ไม่เป็นการชนะอันดี ติ โข ชิต สาธุ ชิต ย์ ชิต นาวชียติ ต่อการชนะที่ไม่กลับแพ้ จึงเป็นการชนะอันดี ยังประโยชน์ให้สำเร็จ การชนะอย่างหลังนี้เป็น ผลอันพึงปรารถนา ทั้งในคดีโลกทั้งในคดีทางธรรม ผู้ชนะสงครามย่อมคิดหาทางตัดรอนศัตรูมิ ให้อาจกลับต่อสู้ได้อีก เพื่อรักษาความชำนะของตนให้ยั่งยืน จักได้ชื่อว่า สังคามชุตตโม ยอมผู้ ชนะสงคราม ฝ่ายผู้ปฏิบัติธรรม เอาชนะกิเลสได้แล้ว ย่อมดำริหาอุบายสะกดกิเลสมิให้กลับ เกิดขึ้นได้อีก จักได้ชื่อว่า อริโย ผู้ประเสริฐ ยา จาย อิตรา ปชา ฯ อตฺตา หเว ชิต เสยโย มีภาษิตในคดีธรรมว่า ชนะตนนั่นแลดี อะไรกับหมู่คนนอกนี้ มีเรื่องสาธกว่าพระราชาองค์หนึ่ง เสด็จยาตรทัพปราบปรปักษ์ มีชัยกลับมา เสด็จลงท่าสรงสนานอยู่ในแม่น้ำ ในพิธีชนะสงครา ได้ทรงสดับเสียงปล่องขึ้นว่า ซิต เม เราชนะแล้ว ตรัสสั่งราชบุรุษ ให้ไปสืบหาตัวคนผู้ร้องอย่าง นั้น ได้กุททาลกบัณฑิตมา ตรัสซักถาม ได้ความว่า หักใจได้ในทรัพย์ลางอย่าง ที่ทำใจให้ พะวักพะวนถึงฆราวาส ไม่เป็นอันบำเพ็ญบรรพชิตกิจ จึงเปล่งอุทานขึ้นอย่างนั้น แม้ในคดีโลกก็ น่าจักเป็นเช่นนัก ทหารผู้ได้รับอบรมใจดีแล้ว ย่อมมีขวัญยืน อาจสู้ศัตรูแม้มาก ไม่ยอมแตกง่าย ๆ ฝ่ายผู้ปล่อยใจให้ละเลิงในทางที่ไม่ดี ย่อมมีขวัญหนี ในคราวรุกได้คล่อง ๆ ก็ดูเหมือนเข้มแข็ง แต่พอเสียลงบ้าง ย่อมมีใจฝ่าเร็ว ยอมแตกง่าย ๆ การรักษา ชัยชนะให้ยั่งยืน รัฏฐาภิบาลโนบายอีกประการหนึ่ง จัดเป็น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More