ข้อความต้นฉบับในหน้า
ย
๓๔๖
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถร)
พวกพาณิชกรรมทรัพย์เป็นต้นทุน ทรงอุดหนุนราชบุรุษด้วยเบี้ยเลี้ยงแลเบี้ยหวดให้มีกำลังเลี้ยง
ตนแลขวนขวายในการงาน พวกชาวนาแลพวกพาณิชมีทางหาเลี้ยงชีวิตแล้ว ย่อมไม่ประพฤติ
โจรกรรม พวกราชบุรุษได้รับอุปถัมภ์พอเพียงแล้ว ย่อมประพฤติเป็นธรรมในหน้าที่ ไม่เห็นแก่
ทรัพย์อันจะพึงได้โดยทางไม่ชอบธรรมรัฐชนบทก็สงบราบคาบปราศจากโจรผู้ร้าย คนท้งหลาย
ต่างขวนขวายในกิจของตน ๆ แบ่งผลถวายเป็นราชพลีเพิ่มพูนพระราชทรัพย์ทวีขึ้นอีกมาก ทั้งได้
ความเบิกบานใจ ยังบุตรให้ฟ้อนที่อกอยู่ด้วยความวางใจ. นี้รัฐสมบัติอันท่านเรียกว่า โรคคล
ราวกับไม่ต้องลงลิ่มแห่งประตูเรือน ในจักรพรรดิวัตร
จำแนกประเภทชนที่พระเจ้าแผ่นดินจะพึงทรงทำนุบำรุงไว้เป็นเหล่า ๆ คือ อันโตชน คนภายใน
คือสถานที่ราบคาบปราศจากโจรภัย
๑
พระราชสำนัก ๑ ผลกาย กองเสนา
พราหมณ์ผู้คฤหบดี ๑ ราษฎรชาวชนบท
ปรีชาสงเคราะห์คนทั้งหลายด้วยอุบายนั้น
กษัตริย์ เจ้าพระนครอื่น ๑ พระราชวงศานุวงศ์ ๑
๑
พราหมณ์ผู้สมณะ ๑ พระเจ้าแผ่นดินทรงพระ
ๆ ย่อมทรงสามารถยึดเหนี่ยวน้ำใจไว้ได้ในสามัคคี
ธรรม ได้อาศัยเป็นกำลังป้องกันแลบำรุงพระราชอาณาจักรให้เกษมสถาพร, แลพระเจ้าแผ่นดิน
นั้น เหมือนดวงศศิธรอันปรากฏแก่คนทั้งปวง ต่างคนต่างหวังพระราชานุเคราะห์ พระองค์ต้อง
ทรงพระปรีชาในอันพระราชทานให้เหมาะแลทั่วถึง ไม่เช่นนั้นก็จะพึงยังอรดีคือความริษยาให้เกิด
ในหมู่ชน เสียผลในทางรักษาสามัคคี, สังคหะที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประกอบชอบ ย่อมเป็นอุบาย
ชักชวนนำให้เกิดสามัคคีธรรม เป็นกำลังแห่งพระราชอาณาจักร จัดเป็นมงคลอันอุดม
ประการที่ ๓.
สมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจ้า
ทรงบำเพ็ญสังคหกิจเป็นอาจิณวัตรเสมอมาแล
ทรงมั่นในพระราชปฏิปทานี้ ทรงสอดส่องหาวิธีเป็นเครื่องสงเคราะห์อยู่เป็นนิตย์พระราชจรรยานี้
จะพึงประสิทธิศุภวิบุลผลแด่สมเด็จ ฯ เจ้ากับรัฐมณฑลตามเวลา
รัฏฐาภิบาลโนบาย ๑ เป็นคุณอันล้ำเลิศ
ให้เกิดวุฒิสิริสวัสดิ์แก่ท่านผู้ได้บำเพ็ญ จึงได้ชื่อว่าเป็นมงคลวิเศษแต่ละประการ มีนัยด้งรับ
ธรรม ๓ ประการ คือ ขันติ โสรัจจะ
๑
พระราชทานถวายวิสัชนามา ด้วยประการฉะนี้