ความสำคัญของวิริยะและขันติในการปกครอง มงคลวิเสสกถา หน้า 234
หน้าที่ 234 / 390

สรุปเนื้อหา

สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายกมีคำสอนเกี่ยวกับการปฏิบัติที่จะทำให้เกิดความเจริญในชีวิตและการปกครอง ประเทศนั้นต้องอาศัยเวทนาจริงจังเพื่อกำจัดความเกียจคร้าน ด้วยวิสัชนาที่ชัดเจนในเรื่องขันติและวิริยะ รวมถึงการปฏิบัติหน้าที่ที่ดีเพื่อความสุขของประชาชน ตบะ แสดงถึงความมุ่งมั่นในการลดละบาปอกุศล และการเสริมสร้างบารมีในด้านต่างๆ อาทิเช่น การช่วยเหลือประชาชน และการแก้ไขปัญหาขณะปกครองประเทศเพื่อให้เกิดความสงบสุข.

หัวข้อประเด็น

-วิริยะ
-ขันติ
-บารมี
-การปกครอง
-ตบะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก สภาที่ไม่มีสัตบุรุษ ผู้ไม่พูดเป็นธรรม ไม่ชื่อว่าสภา ไม่ชื่อว่าสัตบุรุษ ผู้ละ หรือสงบราคะ โทสะ โมหะ พูดเป็นธรรม ชื่อว่าสัตบุรุษ ២៣៨ ในการปฏิบัติ จำต้องอาศัยวิริยะความเพียร เผาผลาญกำจัดความเกียนคร้าน และการ จึงมักแสดงอธิบายตบะด้วยความเพียรตามนัยที่ได้ถวายวิสัชนา มาในข้อวิริย ปฏิบัติผิดหน้าที่ บารมี ข้อที่พระมหากษัตริยาธิราชเจ้าทรงพระวิริยะอุตสาหะ พร้อมทั้งพระขันติธรรมใส่พระราช หฤทัยในการปกครองพระราชอาณาเขต และประชาชนให้เกษมสุขปราศจากภยันตรายมีพระตบะ เดชะเป็นที่ยำเกรงแห่งบุคคลทั่วไป ไม่อาจหมั่นพระบรมเดชานุภาพได้ทั้งทรงสมาทานกุศลวัตร เพื่อระวังบาปอกุศลที่ยังไม่เกิดไม่ให้เกิดขึ้นเพื่อกำจัดบาปอกุศลที่ ทรมานพระกาย พระกมล เกิดขึ้นแล้วให้เสื่อมสูญ ไม่ตั้งอยู่ได้ จัดเป็นตปะหรือตบะ บารมีข้อที่ 5 คือ ขันติ กับทศพิธราชธรรมข้อที่ 5 คือตปะหรือตบะ มีความหมาย อันเดียวกัน เพราะตบะย่อมหมายถึงขันติด้วย ดังพระโอวาทปาฏิโมกข์ข้อว่า ขนติคือความ ทนทานเป็นตบะอย่างยิ่ง และข้อขันติได้รับพระราชทานถวายวิสัชนามาแล้วในข้อขันติบารมี ตบะ เป็นทศพิธราชธรรมข้อที่ 5 สมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจ้าทรงพระเจริญด้วยพระบารมีพร้อมพระราชธรรมจริยา ยกโดยเฉพาะในกถามรรคนี้ คือวิริยะและขันติ เป็นส่วนอัตตสมบัติ กับทั้งมัททวะความอ่อนโยน เป็น และตบะคุณ เป็นเครื่องเผาผลาญบาปอกุศล ทั้งทรงปฏิบัติหน้าที่อย่างเยี่ยมยอด รัฏฐาภิบาลโนบายส่วนปรหิตปฏิบัติ คือเหตุสำคัญที่นำให้เข้าถึงความเจริญในการปกครองรัฐให้ วัฒนาสถาพร ดังจะเห็นได้จากพระราชกรณียกิจนานัปปการที่ได้ทรงปฏิบัติตลอดมา ซึ่งไม่อาจ ยกขึ้นแสดงสาธกด้วยกถามรรคเพียงครั้งเดียว ได้จะรับประราชทานยกสาธกถวายเพียงบาง ประการ เพื่อทรงพิจารณาพระธรรมส่วนชอบอันตั้งอยู่ในพระองค์เป็นเครื่องเจริญพระราชหฤทัย ด้วยพระปีติโสมนัส สมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจ้า ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมเยียนประชาชน พระราชทานความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาให้แก่ประชาชนในพื้นที่ต่าง ๒๔๙๕ เป็นต้นมา เพราะทรงถือว่า น ๆ ตงแต่ พ. ศ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More