ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยคศ- มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๒ หน้า ๒
ชื่อว่า วาจา.
อรรถากถาแห่งรูปภาคว่า " สําหรับชาติใด อันเขาพูดคุย เหตุนัน
สําหรับชาตินั้น ชื่อว่า วาจา. สําหรับชาติใด อันเขาเปล่ง เหตุนัน
สําหรับชาตินั้น ชื่ว่า วาจา. การเปล่งอำ คำว่า คำว่ากเป็นทาง.
ถ้อยคำนันด้วย เป็นทางด้วย แห่งเหล่าชนผู้ประสงค์จะทราบเอง
และประสงค์จะให้ผู้อื่นทราบเนื้อความ แม้เพราะเหตุนัน ชื่อว่า
พย๎โย."
อรรถากถาแห่งมูวามุฬาอันว่าคำเป็นทางว่า " คำเป็นทาง ชื่อว่า
พย๎โย. จิงอยู่ วาจาเท่านั้น เป็นทางของชนทั้งหลายผู้งิอ
ทิฎฐานุดี [คือเป็นตัวอย่าง] แมของชนเหล่านี้ ท่านจึงเรียกว่า
พย๎โย"
อาความศัพท์เป็น พย๎โยในพระปศพัทหนปลาย ด้วยสูตร
ในสํานทนติปกรณ์ ตอบว่าด้วยสนธิบัญ๎ว่า " วาจา โพล ย ปด
[เปล่งจากคำพึเป็น พย๎ู ในพระปศพัท] ก็ได้ ด้วยมหาพฤทธิ์
ก็ได้.
บทว่า เอตํ คําว่า "เทพดา ท่านจึงถือว่า " พาพุจึงจะ ๑
ศิลปะ ๑ วันทีศึกษาแล้ว ๑ วาจาสุขิต ๑ กรรม ๑ อย่างนี้
เป็นมงคลอย่างสูงสุด" ความสงบเรียบร้อยในกามที่ ๓ นี้ เท่านั้น ส่วน
ความผิดการในกามที่ ๓ นี้ ดังต่อไปนี้:
๑. อุทสาสิน ๔๕๒. ๒ สมุท ๒/๒๓.