ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค ๔ - มังกรคลี่ดังนี้เป็นปล. เล่ม ๒ - หน้า ๑๓๖
ท่านจึงกล่าวว่า "โดยมากออกจากภาพไม่ได้" ดังนี้ ดังนั้น นิยม-
มาจากทิฐิปญฺญูบคต อันผู้ปรารถนาความเจริญ ควรเว้นเสียให้ไกลเพราะ
เป็นผู้ทำอันตรายแม้บุคคลผู้จนเข้ได้ ด้วยเหตุนี้ ในอรรถก
สามัญผลสูตรเป็นต้น ท่านจึงว่า
"เพราะฉนั้น ญาณฑุตผู้ปรารถนาความเจริญ มี
ปัญญาเห็นประจักษ์ ควรเว้นองคุลยชนเสีย
ให้ไกลดูบุคคลอื่น ซึ่งมีพิษที่เย็น"
ถ้ากาสามัญผลสูตรเป็นต้นนั้นว่า "มากว่า ตถมา คงว่าเพราะ
เหตุก็อคือองคุลยชนเป็นปัจจัย แม้แห่งความเป็นปัจจัยอย่างนั้น
ว่า ภูติภูมิโม คงว่า ผังอวิ่งความเจริญด้วยคุณทั้งหลาย
เพื่อดน ด้วยสามกุกุฎธรรมมิิดต (ประโยชน์ในปัจจุบัน) สัม-
ปรายก็ต (ประโยชน์ฝ่ายหน้า) และปริตต (ประโยชน์อย่างยิ่ง
คือพระนิพพาน)."
[ธรรมบขาดเพราะทฤติ ๓]
[๒๒๘] ดังนั้น กรรมบขาดเพราะทฤษฎิ ๓ นี้เท่านั้น ถ า
ขาดเพราะทฤษฎีเหล่านี้ไม่. แม้เมื่อเป็นอย่างนั้น ใคร ๆ ก็ไม่ควรถือ
ทฤษฎีแม้สักอย่างหนึ่งเลย เพราะเป็นทฤษฎีห้องสัตว์ให้ถึงอาบาย. ด้วย
เหตุนี้ พระผู้พระภาค จึงรัสไว้ในเอกนิมิตรองค์ตรนิกาย ว่า
"ทิฎฐูทั้งหลาย เราไม่เห็นธรรมอันแม้อย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นเหตุที่สัตว์
ทั้งหลายเบื่องหน้าแต่ตามเพราะกายแตก เข้าถอยอาย ทุกติ วิินาม
๑. สุ วิ. ๑/๒๐๙