มัชฌิมายามและมิจฉาอาชิวะในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 2 หน้า 78
หน้าที่ 78 / 356

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงแนวทางการปฏิบัติของพระภิกษุในการเข้าถึงพระอรหันต์ผ่านการปฏิบัติกิริยาและการเลี้ยงชีพตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะในคำสอนเกี่ยวกับมิจฉาอาชิวะ ซึ่งกล่าวถึงการกระทำที่ไม่ถูกต้องทั้งทางกายและวาจา และความสำคัญของการอาชีพที่ถูกต้องซึ่งพระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญ การตั้งใจอย่างมุ่นมั่นในการปฏิบัติธรรมและการเดินตามแนวทางการทรงสอนจะนำไปสู่ความปลอดภัยและการพัฒนาทางจิตใจได้อย่างแท้จริง สรุปได้ว่า การเข้าใจและปฏิบัติตามคำสอนในธรรมะเกี่ยวกับการเลี้ยงชีพที่ถูกต้องจะนำไปสู่ความสงบสุขในชีวิตโดยทั่วไป

หัวข้อประเด็น

- มัจฉิมายาม
- มิจฉาอาชิวะ
- ความสำคัญของการปฏิบัติธรรม
- การทำงานอย่างมีคุณธรรม
- คำสอนของพระพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๔ - มังคลดีกถิ่นนี้เป็นแหล่ง ๒ - หน้า ๑๓๘ พระเถระกำลังจงกรม ด้วยมนัสกิริยาถึงกับมุ่นมั่นอยู่เนืองแน่น ทำ ภูเขาทั้งสิ้นให้สะเทือนสะท้าน บรรลุพระอรหันต์ในลำดับแห่งมัชฌิมายาม เรื่องพระอิตัตตุตตเภ ในโสภณเทวส. [อาชิวาปราสุทธิสิล] (๒๕๕) ก็อาชิวาปราสุทธิสิล ย่อมบริสุทธิ์ เมื่อภูกม้วยอาชิวะ (พายามเครื่องอาศัยเป็นอยู่) โดยชอบ ด้วยเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคจึงตรัสไว้ในมหาสติปัญญาสูตรว่า "กิเลุ้หลาย ก็สัมอาชิวะเป็นไฉน ? ภูกุ้หลายอธิษฐานในธรรมวันนี้ ละมิฉอาชิวะ เลี้ยงชีิวิตด้วยสัมอาอิชิวะ ภิกษุทั้งหลาย นี้เเทกล่าวว่า สัมอาอิชิวะ" ในครรถมมหาสติปัญญาสูตรนั้น ท่านกล่าวว่า "บทว่า มิจฉอาชิวะ ได้แก่มุ่ง ทุรดิทงกายและวาจาที่ให้เป็นไปเพื่อประโยชน์แก้ปัญญา มีทุนรสะและโภคะนี้เป็นต้น ทวา สมอะอิชิวะ คือด้วยอาชีพที่พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญแล้ว" [๒๖] ความที่มิจฉอาชิวะมี ๒ อย่าง โดยจำแนกเป็นมิจฉา-อาชิวะทางกายและทางวาจา ท่านแสดงไว้ด้วยอาวัจพล ในทวา กายอันอิจฉริน นั้น ก็มีอาชิวะ ๒ อย่างนั้น พึงทราบตามนัยที่ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถาจับมัยนั่นแหละว่า "กินอิทธิฤทธิ์ น้ำมันและคุกคามธรณีเป็นต้น ด้วยสามารถอวิชชกรรมมีเวรกรรม ๑. ที่. มหา. ๑๐/๑๘๙ ๒. สุ. วิ. ๒/๕๕.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More