การพูดที่น่ารักและผลกระทบต่อสังคม มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 2 หน้า 176
หน้าที่ 176 / 356

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจแนวคิดในการพูดที่น่ารักจากข้อความในพระธรรม โดยมีการยกตัวอย่างถึงผลกระทบของการใช้คำพูดที่ไม่ดีต่อชีวิตและสังคม พร้อมกับเล่าเรื่องราวของพระโพธิสตว์ในอดีตที่แสดงถึงแนวทางในการพูดที่มีคุณภาพ การกล่าวที่ไม่ใช้คำหยาบหรือคำไม่ดีช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่นและส่งผลดีต่อสังคมโดยรวม เนื้อหานี้เชื่อมโยงกับปรัชญาและจริยธรรมในการใช้คำพูดอย่างมีสติ.

หัวข้อประเด็น

-การพูดที่น่ารัก
-ผลกระทบของคำพูด
-คำพูดและสังคม
-พระโพธิสตว์
-ความสำคัญของการสื่อสาร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๕- มั่งคั่งที่นี่นีในสังสิตสูตรเฉพาะพระพักตร์พระผู้มภาว่า "บุคคลควรพูดแต่ว่าจากที่น่ารักอย่างเดียว ซึ่งเหล่า ชนพากันชื่นชม (และ) ซึ่งไม่เคยคิดชั่วหวาด ทั้งหลายของชนเหล่าอื่น พูด (แต่ถ้าว่าที่น่ารัก.)" [แก่อรรถ] บรรดาบเหล่านั้น นบว่า ปฎิเนตุิต ความว่าชนทั้งหลาย ไปสู่คืนหน้าแฟร์สนิทด้วดวงใจอันรุ่งเรือง. สองบวกว่า ย อนทยาย ความว่าบุคคลเมื่อจะกล่าวคำใด ไม่อื่คำหยาบ คำเลย คำไม่ร้าย คำน่าเกลียด ได้แก่ คำหยาบ คำของชนเหล่าอื่น กล่าวแต่ค่านัก ซึ่งไว้เพราะโดยอรรถและ พญาชนะแท่งธร, ควรพูดแต่ว่าจานักนั้นอย่างเดียว ดังนี้. [๒๒๕] อันนี้ บุคคลผู้กล่าวที่ ย่อมเสื่อมจากลากที่ได้ แล้วบ้าง จากลากอันควรจะได้บ้าง และย่อมประสพทุกข์ ใน ข้อยี่พระหมาศผู้มนต์เวลา [เรื่องพระหมาศผู้มนต์เวลา มง] ดังได้ลำมา ในอดีตกาล พระโพธิสตว์ (เกิด) เป็นคนจันทาล ในบ้านคนจันทาล ในนครปัจจันตชนบา เป็นบังติติลือกาล รอบรัมนต์สำหรับทำมะง่วงให้มึนมิใช่กาล. พระโพธิสตว์นั้น ไปป่แต่ว่าตรู่ ยืนอยู่ ณ ที่สุดตอนมะง่วง ออกไป 3 ก้าว จิรายมนต์ เอาน้ำซองมือหนึ่งสาดตัน (มะง่วง).
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More