ไฟสามอย่างในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 2 หน้า 332
หน้าที่ 332 / 356

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เกี่ยวกับไฟสามอย่างตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่กล่าวถึงความสำคัญของคฤหบดีและคุณธรรมในฐานะเจ้าของเรือน โดยอ้างอิงจากอรรถกถา และการเข้าใจในธรรมชาติของมนุษย์ที่มีการเผาผลาญทั้งทางกาย วาจา และใจ นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างเรื่องราวความสัมพันธ์และการสื่อสารระหว่างคู่ชีวิตที่แสดงให้เห็นถึงผลของการกระทำ ติดตามเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

- ไฟสามอย่างในพุทธศาสนา
- คุณธรรมของคฤหบดี
- อรรถกถาในพระพุทธศาสนา
- ความสัมพันธ์ในครอบครัว
- ธรรมชาติของมนุษย์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๔ - มังคลัตถิทฺพา เมลม- หน้า ๒๒๓ บูดมและภริยาเป็นดังนี้ เพราะเหตุที่หมู่ชนมีบูรณะและภริยาเป็นฐานนั้น เป็นคุณ คฤหบดี คือคฤหบดีเจ้าของเรือน ย่อมไป คือย่อมเที่ยวไป, จะนั่น พระผู้มีพระภาค จึงเรียกว่า คฤห- ดิคฺ (ไฟ ๓ อย่าง) [๒๔๕] ส่วนในอรรถกถาปฐมคิฎฺสูตร ที่พระผู้มีพระภาคตรง จำแนกแสดงอย่างนี้ว่า "ภิกษุทั้งหลาย ไฟ ๓ อย่างเหลานี้ ไฟ ๓ อย่างเป็นไอน ? ไฟคือธาร ไฟคือโคะ ไฟคือโมะ ไฟคืออุปไทย ไฟคือทัณฑ์ ไฟคือกูฏนฺดี้ ไฟนี้เกิดแต่ไหม ภิกษุทั้งหลาย ไฟ ๓ อย่างเหล่านี้แหละ, ท่านกล่าวไว้ว่า "คฤหบดี เจ้าของเรือน พระผู้มีพระภาค ตรัส เรียกว่า คฤหดิคฺ (คฤหาหดิค) เจ้าของเรือนนั้น ชื่อว่า มีอุปการะมากแก่มุตาภาค เพราะฉะนั้นท่านมีทัณฑ์ผ้า และเครื่องประดับเป็นต้น, มาดาคาม เมืองประทุมสุดเจ้าของเรือนนั้น ย่อมบังเกิดในบาย ๔ มีนร เป็นต้น, เพราะฉะนั้น เจ้าของเรือนมันนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า 'คฤหดิคฺ' ด้วยอรรถว่า ตามเผา โดยยึดก่อนนั้นแหละ." [๒๔๖] เมื่องศรีประพบัติยอกใจ [๒๔๗] แม้ในอรรถกถาสังคัณฑสูตร ท่านกล่าวอย่างนั้นเหมือนกัน แล้วกล่าวอีกว่า "ในกาแห่งพระกัสปพุทธเจ้า วิริยาของอุกาสก์ผู้ใสดบ่น ประพบติยอกใจ (สามี), เขาเห็นภรรยานนั้นโดยประจักษ์ จึงกล่าวว่า 'เหตุใร หล่อนจึงทำอย่างนั้น ?' นางกล่าวว่า 'ถ้าดิฉันทำกรรมนี้นะไซร้, สุนัขตัวนี้ จงมุกคิดคำนั้น ดังนี้"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More