มังคลจิตที่เป็นเปล เล่ม ๒ - บทสะท้อนสตรีและกรรม มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 2 หน้า 334
หน้าที่ 334 / 356

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเน้นเรื่องการประพฤติของสตรีและบาปกรรมที่เกิดจากการกระทำของตน โดยมีความสำคัญเกี่ยวกับเสียงร้องและการประกอบกรรมตามบทประพันธ์ในอรรถกถา เนื้อหานี้ถูกกล่าวถึงในหลากหลายสุตร ทั้งอรรถกถาและภีฏสติสุตร สื่อถึงแนวคิดที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำและผลที่ตามมาในชีวิต โดยใช้ตัวอย่างและเปรียบเทียบเชิงอภิปรัชญาเพื่อทำความเข้าใจความสำคัญของการกระทำในอดีตและการทำแนวทางที่ถูกต้องในอนาคต. เนื้อหานี้จึงมีความหมายต่อผู้สนใจในธรรมะและการประพฤติที่ถูกต้องอย่างยิ่ง

หัวข้อประเด็น

-การประพฤติของสตรี
-บาปกรรม
-พระไตรปิฎก
-อรรถกถา
-ผลกรรมของการกระทำ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๔ - มังคลจิตที่เป็นเปล เล่ม ๒ - หน้า ๓๓๔ เพราะความเป็นผูกรุษบ อันปรากฏขึ้นด้วยอนุภาพแห่งบาปกรรมของตนพึงคิดกัน. กล่าวว่า องฺฤตฺวา ท่านกล่าวมาาเอการไม่ให้พระราชานันทราบทรงแล้ว ไปสู่ที่ทำ (กรรม). บทว่า ปฏูปปติ ได้แก่ทำเสียงดังปฏูปปติ. บทว่า ปฏูปปติ นัน เป็นเครื่องแสดงการร่ำร้อง. นัยว่า ก็การประกอบในอันผม (ก่อนเทพะ) เพื่อความหายไปแห่งสุขนั้น ก็ คือการก้มก่อนเพลงบนพื้นดินแล้วย่ำด้วยเท้า. ด้วยเหตุนัน พระอรรถกถาจารย์ จึงกล่าวว่า ท้าวเธอได้ทรงทำอย่างนัน. สุบินหายไป." เรื่องสตรีประพฤติดนอกใจ จบ. [๒๕๔] เรื่องนี้ มาทั้งในภูมิปัญญาสุตร ทั้งในอรรถกถาและภีฏสติสุตร ด้วยสามารถแห่งการทำโดยอย่างเดียวกัน. ส่วนที่มาในอรรถกาถิณูมณฑปตัวดุ ในตัวดุตโดยพิสดาร มีเปลกันนิดหน่อย. ก็ติแปลกันในอรรถกถากันนมนทปุตตเดานั้นมว่า "พระราช ทรงดำรว่า "สุบินตัวนี้ จักเป็นศัตรูของสุตรนั้น, ดังนี้ แล้ว ทรงยิงอัชฌากลูกอัชฌากบังด้วยของพึง ปลงสุขจากชีวิตแล้ว," เพราะฉะนั้น ในเรื่องนี้ พึงถึงความตกลงกันว่า "โดยนัย อันมาในอรรถกถาสิคุตติสุตรและปฏูปปติสุตร เจ้าของเรือน ชื่อว่า คณะคติคีของอรยา. โดยนันอันมาในอรรถกาถูกูณิกสุตร บุตรแลถรา ชื่อว่า คณะคติคงเจ้าของเรือน" และ กล่าวว่า ด้วยความสงเคราะห์ตุรและถิร จบ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More