มังคลาดีกรีปนี้แปล เล่ม ๒: พระโลวาที และภิกษูปหนึ่ง มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 2 หน้า 28
หน้าที่ 28 / 356

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงคำและความหมายในพระไตรปิฎกโดยเฉพาะคำที่เกี่ยวกับจีวรกรรมของพระโลวาทีที่ได้ทำเพื่อภิกษุ โดยระบุการทำจีวรรวมถึงรายละเอียดที่สำคัญต่างๆ เช่น ออภูภูมิ และการชูด้าย เพื่อแสดงถึงความสำเร็จและมงคลที่เกิดจากการทำกิจกรรมนี้ และยังมีการอภิปรายถึงความสำคัญของการวางตัวในกิจกรรมทางศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของคำในพระไตรปิฎก
-บทบาทของพระโลวาที
-จีวรกรรมในพระพุทธศาสนา
-ความเป็นมงคลในกิจกรรม
-การแสดงความสำเร็จในทางศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๔๕- มังคลาดีกรีปนี้แปล เล่ม ๒ – หน้า ที่ ๒๘ มีสีและดอกเลื่อน ไปแล้ว) บอกว่า ปาปิณ ได้แก่ ในผ้ากสำที่ตดจากระหว่างร้านตลาด การแสงหา ชื่อว่าอุดสาหะ แต่ผ้าบังสุก และผ้าที่ตดตามร้านตลาดนั้น ไม่มีคำบอก แม่ ๑๐๐ ชั้น ก็ครว คำนี้ทั้งหมด กล่าวไว้สำหรับภูมบุญอุอูย บทว่า ออภูภูมิ ได้แก่ ท่อนผ้า (ใหม่) ที่รีอ (ผ้าเก่า) แล้วนำเข้า บทว่า ตุนูนอ คือ ผ้าที่ชูด้วยด้าย. บทว่า โอวภูมิ คือ เจาะทำ (ให้เป็นรู) บทว่า กุลูถก คือ ลูกกุม. บทว่า ทาพีถกุมมิ ได้แก่ ท่อนผ้าที่ไม่ร่อ ทำให้เป็นท้องแล้วนำเข้า. เรื่องภิกษูปหนึ่ง จบ. [๑๓๖] ความเป็นผู้ลาภในกิจกรรมของท่านเหล่านี้ ที่ประกอบในฐานะ : ย่อมำนซึ่งความสำเร็จย บันทึกไว้ในประโยชน์ก็อุดในโลกนี้ ด้วยประกะนะ เหตุนี้ จึงจัดเป็นมงคล. แต่ที่ประกอบในอุทธยานะ หาเป็นมงคลไม่ เพราะเป็นเหตุามซึ่งความคิดเตยน. ในข้อนี้ มีเรื่องดังต่อไปนี้ (เป็นอุทธารณ์). เรื่องพระโลวาที ดังได้กล่าวมา พระโลวาที เป็นคนละเอียด และสามารถทำจีวรกรรม. ท่านเย็บจีวรเพื่อภิกษุ ผู้เป็นภรรยาเก่าของตน ยอม แล้วทำรูปภาพอันตรกะ ถึงสำเร็จแล้วด้วยปฏิกะณะ ที่ตรงกลาง พับแล้ว กล่าวว่า " เชิญฤทธิ์ น้องหญิง เธอจำนำวิธีนี้ไป ๑. สนมต. ๑๒๔
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More