อัปโพหริกิ และ อภิธา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 2 หน้า 114
หน้าที่ 114 / 356

สรุปเนื้อหา

บทนี้กล่าวถึงธรรมชาติของอัปโพหริกิที่เกี่ยวข้องกับจิรกรรมและจิตใจที่มุ่งไปยังโมหะ การวิเคราะห์ถึงอวัยวะต่างๆ และการเข้าใจในอภิธา โดยอ้างอิงจากภิกฆาสังคิตสูตรซึ่งกล่าวถึงศพท์และการปล่อยวางในความละโมบ มีการศึกษาถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมุ่งไปยังสิ่งที่คนอื่นมี.

หัวข้อประเด็น

- อัปโพหริกิ
- อภิธา
- จิรกรรม
- ธรรมชาติ
- การละโมบ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๔- มังคลัตถที่นี่เป็นเปล่า เล่ม ๒ - หน้าที่ 114 เป็นต้น ชื่อว่าเป็นอัปโพหริกิ ด้วยสามารถจิรกรรมมีจริตสวาทเป็นต้น, อธิบายว่า อันใคร ๆ ไม่ควรกล่าว ด้วยความเป็นจิรกรรมก็สวาท เป็นต้น เพราะคนไม่ห่องเที่ยว. ถากด้วยจิรกรรม จบ. มโนกรรม [อภิธา] [๒๐๕] ธรรมชาตที่ชื่อว่าอภิธา เพราะอรรถว่าเพ่งล็ง อธิบาย ว่า เป็นไปโดยความเป็นผู้มุ่งหน้าต่อกันทะของผู้อื่นแล้ว น้อมไปใน ภัณฑะนั้น. ในภิกฆาสังคิตสูตร ท่านกล่าวว่า "ศพท์ คือธาตุทั้งหลาย ที่ บอกความแปลกออกไป ก็ด้วยสามารถอุปลส้ อเหตุใน. ท่านจึง กล่าวความของว่าฐิธมฤต ด้วยว่า ปราณฤตวิมุติ ดังนี้ เป็นต้น. บรรดาบทเหล่านั้น ในบทว่า ตนนันตาย นี้ พึงทราบอธิบาย อย่างนี้ว่า "โดยความเป็นผู้มุ่งไป ด้วยสามารถความละโมบใน ภัณฑะของผู้อื่นนั้น" ศพท์คือ อา ธา แม้มิ อภิ เป็นบทหน้า พิง เห็นว่า ลงในอรรถว่าสะโม (โม, อีกอย่างหนึ่ง ศพท์คือธาตุทั้งหลาย หลบความแปลกออกไป ก็ด้วยสามารถอุปสั้นั้นเอง."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More