มังคลิจักษ์ที่เป็นเปล เล่ม ๒ - หน้า ๕๐ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 2 หน้า 50
หน้าที่ 50 / 356

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงแนวคิดเกี่ยวกับอันตรายและธรรมที่ถูกอธิบายโดยพระอรรถกถาจารย์ โดยมีการอภิปรายถึงสภาพของอันตรายที่มีอยู่ในสันดานของสัตว์ พร้อมทั้งการไม่ทำอันตรายต่อสวรรค์และพระนิพพานซึ่งเกี่ยวข้องกับเจตนาและการกระทำต่าง ๆ สิ่งนี้นำเสนอทางธรรมที่อาจสร้างความเข้าใจผิดในหมู่ผู้ปฏิบัติพระธรรม และชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการรักษาจิตใจให้บริสุทธิ์ในทางปฏิบัติและการป้องกันความใกล้เคียงกับความผิดพลาดในแนวทางธรรม

หัวข้อประเด็น

-อันตรายธรรม
-ธรรมในพระพุทธศาสนา
-การไม่ทำอันตรายต่อสวรรค์
-เจตนาธรรม
-ความสำคัญของการปฏิบัติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๔ - มังคลิจักษ์ที่เป็นเปล เล่ม ๒ - หน้า ๕๐ ไม่แสดงเสียดีกว่าหนั้น เมื่อเวลากว่าที่อาบูอินทภูมิท่านแล้ว ตามปัจจัยนั้น หาทำอันตรายไม่." [๑๔๘] นอกจากนี้ในภูมิอธิษฐ์สิกขาบทนั้นว่า "สภาพใดอิ่มเอ ถึง คืออิ่มมา ในระหว่าง คือในกลางสันดานของสัตว์ ด้วย สามารถขจัดขวางต่อสมบัติั้น ๆ เหตุั้น สภาพนั้น ชื่ออันตราย คืออันตะ (ความฉิบหาย) อันเป็นไปในทุจจริต (ปัจจุบัน) เป็นตน. ธรรมซึ่งมีปกติทำอันตรายนั้น ชื่อว่านัตตรายธรรรม. เจตนาธรรมที่ให้ผลในภาพเป็นลำดับเป็นสภาพ ชื่ออันตรายธรรรม. เจตนาธรรมที่ให้ผลในภาพเป็นลำดับเป็นสภาพ ชื่ออันตรายธรรรม. อันตรายธรรรมคือธรรม ชื่อว่ามันตรายธรรรม. คำที่ พระอรรถกถาจักกล่าวว่า 'อธินิยกสกุณตรม) หาทำอันตรายต่อ สวรรค์ไม่' เพราะไม่มีลักษณะแห่งมิจจาระ ด้วยความว่าที่ อธินิยเป็นผู้อธรร ม รักา ไม่มี้ ก็ฉนั้น ท่านกล่าวไว้ ด้วยสามารถอธินิยที่ดำรงอยู่โดยปกติ แต่ก็ญาณอันสุทธธรร ม ที่ บุคคลประพฤติ (ให้เป็นไป) ในภิกษุนี้เป็นอธิษธรรม ให้เป็นไปในอุบายโดยแท้ ก็ในข้อนี้ มันนามภาพเป็นอุกฤษณ์. อีกอย่างหนึ่ง พระอรรถกถาจารย์ไม่ได้กล่าวความที่ภิญญุสกุณตรม คือว่าความที่ภิญญุเป็นผู้อธิษธรรม เป็นอธัมรรมทำอันตรายต่อสวรรค์ ก็ด้วยสามารถที่ชนทั้ง ๒ มี่ ฉันทะร่วมกัน. แต่ท่านกล่าวความที่ภิญญุสกุณตรมเป็นอธัมรรมทำอันตรายต่อพระนิพพาน ก็เพราะประทุษร้ายข้อปฏิบัติ อาจารย์ข้าง พูดกล่าวว่า 'ก็เมื่อความที่ภิญญุสกุณตรมเป็นอธิษธรรมทำอันตราย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น