ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค ๑๑ - มังคลัตถีที่นี่นเปล เล่ม ๒ - หน้าที่ 125 และอุปมาเป็นต้น การเผา การบีบคั้น ชื่อว่า การเบียดเบียน เหตุ นั้น พระอรรถกถาจารย์กล่าวว่า ‘เบียดเบียนอยู่ด้วยอาณุญา’ อีกอย่างหนึ่ง ในอรรถกถาจะปัญญาสูนี้ ท่านกล่าวความว่า ‘อยู่!’ แต่ในที่นี้ พระอรรถกถาจารย์สงเคราะห์การบำรุงด้วยอาญา อย่างเดียว จึงกล่าวว่า ‘เบียดเบียนอยู่ด้วยอาญา’ ดังนี้เท่านั้น. หลายบทว่า โโล่ ส ยย์ โกณฐส ความว่า ฯทำเหตุแห่งความเศร้า โศกแก่ผู้อื่นเอง หรือยังความเศร้าโศกให้เกิดขึ้น. (หรือว่า ยังผู้อื่น คือผู้ทำตามคำของตน (ให้ทำความเศร้าโศกแก่ผู้อื่น), คำว่า สสมวิ ผนุกโต ความว่า ฉันธรแม่งเอง ด้วยความพยายามในอัณฑบิ่นกันอึ่น. บทว่า อตุปาปย์โต เป็นไปทั้งในอรรถแห่งงดเทวดาจากล้วน พึงในอรรถแห่งเหตุทุตวาด เหตุนี้ พระอรรถกถาจารย์กล่าวว่า ‘ม้าเองดีๆ ใช้ผู้อื่นให้ก็ดี’ ดังนี้ บทว่า การบาดเสน แปลว่า ด้วยสามารถการใช้ผู้อื่นให้ทำ. ฝ่ายเรือนอันมีที่ต้อนอยู่ทั้งภายในทั้งภายนอก ชื่อว่า ที่ของเรือน. การปล้นอย่างไฉนฉันเนื่องประตั ว่าก็ไม่เหลือวัตถุอะไร ๆ ไว้ ชื่อว่า ปล้นสงม์. การปล้นที่ประกอบคืออะไรในเรือนหลังเดียว ชื่อว่า ปล้นเรือนหลังเดียว การทำร้ายกันที่ทางรอบด้าน คือทุทิส ชื่อว่าทางเปลี่ยน. บาปย่อมมิชื่ออำนาจทำ เพราะบาปนั้นไม่มีอยู่ในกาลก่อน ใคร ๆ ไม่อาจจะให้คดีนี้ได้ เพราะฉะนั้น บาปจึงไม่มี. เจ้าทิฐิปริปะใสใจชักถามว่า ‘ผัว เมื่อเป็นอย่างนั้นไฉนไร