มังคลัตถีที่เป็นเปล: บทเรียนเกี่ยวกับศีล ๕ และทุกข์ดี มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 2 หน้า 300
หน้าที่ 300 / 356

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้อธิบายถึงความสำคัญของศีล ๕ โดยยกตัวอย่างการนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันที่นำไปสู่ความสุขและความสงบสุขของชีวิต จากการสนใจในประโยชน์ที่เกิดจากการทำดีและการตระหนักถึงความตายที่เป็นธรรมดาของมนุษย์ รวมถึงการสื่อสารแนวทางที่พระอริยะท่านได้วางไว้ สำหรับการรักษาศีลและการทำโทษเพื่อให้ได้มาซึ่งความสุข นอกจากนี้ยังพูดถึงการป้องกันภัยจากสรรพสิ่งที่ไม่เป็นมงคล.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของศีล ๕
-การทำประโยชน์
-การใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่า
-อุดมการณ์ของพระอริยะ
-แนวทางการหลีกเลี่ยงทุกข์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๕ - มังคลัตถีที่เป็นเปล เล่ม๒ - หน้าที่ ๓๐๐ เดือนร้อน เพราะทำประโยชน์นั้น อันเราทำแล้ว บทว่า เอว คือความว่า บุคคลผู้นั้นเป็นอบาย จึ่งจะต้องตายเป็น ธรรมดา เมื่อระลึก คือถือถึงประโยชน์นี้ คือชื่อพระผู้มีพระภาค ตรัสแล้วโดยยำว่า ภฏุตา โก คำตน ด้วยประกานะนั้นน. บทว่า อริยมุนา ได้แก่ ตั้งอยู่แล้วในธรรมคือศีล ๕. แท้จริง ศีล ๕ ชื่อว่า อริธรรม เพราะเป็นธรรมที่พระอริยะทั้งหลายใคร คือเพราะเป็นที่รักของพระอริยะทั้งหลาย ก็พระอริยะทั้งหลาย แม้ ไปสู่ภพอื่น ก็ไม่จะศีล ๕ นั้น. มีคำรัศรอธิบายไว้ ดังนี้ว่า "ทุกข์ดี อุบาสกนี้น่าท่าน เมื่อ จะถอดเอาโคะทั้งหลาย พึ่งถอดเอาโคะทั้งหลายด้วยเหตุ ๕ อย่าง คือ "รวบำท่านและมรรคาบติ บุตร ภริยา ทาส กรรมม์ และ บรรพช์ทั้งหลาย ให้ได้รับความสุขด้วยโคะเหล่านี้" อย่างหนึ่ง, จักทำ มิจฉามยตทั้งหลาย ให้ได้รับความสุขด้วยโคะเหล่านี้' อย่างหนึ่ง, เมื่ออันตรายทั้งหลายเกิดขึ้นจากวัตถุทั้งหลายไม่เป็นต้น จักปิดทางแห่ง อันตรายเหล่านั้น ดังนี้โคะทั้งหลายแล้ว ทำวนให้วัสดี อย่างหนึ่ง, จักตั้งทัตถอำนภผล(ไป) ในเบื้องบน ในสมุนพรามม์ผู้ประกิต ธรรมทั้งหลายด้วยโคะเหล่านี้' อย่างหนึ่ง, จักทำพลิกธรรม ๕ อย่าง ด้วยโคะเหล่านี้' อย่างหนึ่ง, อนากาศนั้น มีโคะอันคือแอแล้วอย่างนี้ เมื่อทำประโยชน์ที่บรรจบกัน โคะทั้งหลาย สื่อว่า ยมะและความ เดือนร้อนอันมีปิฎกสรเป็นลักษณะเสด็จ และแม้ศิลของอุบาสก ผู้ละความเดือดร้อนใดแล้ว ยอมหมดจด อันนี้แม้ถวายทักศิรเสริญ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More