ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค ๔ - มัง کلیดติที่เป็นแปลง เล่ม ๒ - หน้าที่ ๒๒
กว่าด้วยศิลปะ
[๒๒๘] ความเป็นผู้ลาดในกิจกรรมมี ๒ อย่าง ด้วย
สามารถแห่งศิลปะของบรรพชิตและกุฎีก์ คือตัวศิลปะ
[อนาคาริศิลปะ]
ในศิลปะ ๒ อย่างนั้น การตกแต่งสมบูรณ์มีครู
และฝีมือเป็นต้น ที่พระผู้มีพระภาคทรงพระนามว่าไร้สัตว์ตุมหัตตุสูตร
ทุติยวรรณ แห่งหาสตินับดับอัตถ์รินาย อย่างนี้ว่า "ภิญญา
ทั้งหลาย ภิญญ์ในศาสนานี้ เป็นผู้ขยันไม่เกียจคร้าน ในงานอะไรก็
จะพึงช่วยกันทำ ทั้งสูงทั้งต่ำ ของเพื่อนพรหมจารีด้วยกัน ประกอบ
พร้อมด้วยปัญญาเครื่องสอบสวน อันเป็นอุบายในการงานที่จะพึงช่วย
กันทำบั้น อาจทำ อาจจัดได้; ภิญญ์ทั้งหลาย ภิญญ์เป็นผู้ขยัน ฯ ฯ
อาจจัดได้ แม้ใด ธรรมแม้นี้ ชื่อว่ากรรมธรรม " ดังนี้ ชื่อว่า
ศิลปะของบรรพชิต
[๒๒๙] อรรถกถาสัตตุมสูตรนั้นว่า "บรรดาทรงหล้านั้น
บทว่า อูฏจวนานี แปลว่า สูงและต่ำ การงานที่จะพึงออกปาก
อย่างนี้ว่า "ชำเก้าจะทำอะไร ? " แล้วจึงท้า ชื่อว่าการงานที่จะพึง
ช่วยกันทำ. ในการงานที่สุดและต่ำนี้ การงานเป็นต้นอย่างนี้ คือ
การทำ การย้อมมิวิร กรรม (คืออาปม) ปูนาขาวพระเจดีย์
การงานที่จะพึงทำในโรงอุโบสถ เรือนพระเจดีย์ และเรือนต้นโพธิ
. พระมหาทองคำ จนฏูโม ปาฏูโม ปัจจุบันเป็นที่พระธรรมคัล
แปล อ. อง ทสก. ๒๔/๒ ๒. มโนรมปุรี. ๑๘๙.