มังคลคติที่เป็นเปล่า – การปฏิบัติธรรมของพระราชา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 2 หน้า 227
หน้าที่ 227 / 356

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการประพฤติธรรมของพระราชาที่มีผลกระทบต่อสัตว์ พาหนะ และประชาชนในแว่นแคว้นต่างๆ โดยยกตัวอย่างการให้สิ่งของที่ควรแก่สมณะและพราหมณ์ รวมถึงการช่วยเหลือประชาชนอย่างเหมาะสมเมื่อไม่เกิดการไม่สะดวกในชีวิตของพวกเขา นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงความสำคัญของการประพฤติธรรมที่นำมาซึ่งความสุขในชีวิตและการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติ.

หัวข้อประเด็น

- มังคลคติ
- การปฏิบัติธรรม
- พระราชาและประชาชน
- ประโยชน์ที่ได้จากการประพฤติธรรม
- ความสุขในชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๔ – มังคลคติที่เป็นเปล่า เล่ม ๒ – หน้าที่ 227 เมื่อพระราชทานสิ่งของที่ควรพระราชทาน ทรงปฏิบ่หน้าที่ แก็ดสัตว์พาหนะมีข้างตัวเป็นต้น และพลิกนิกา ไม่ทรงใช้จับม้าเป็นต้น ในงานทั้งหลาย ในเวลานั้น ชื่อว่า ทรงประพฤติธรรมในสัตว์ พาหนะและพลิกนิกา เมื่อไม่ทรงบิยดเมียนชาวบ้านและชาวคิม ด้วยอาชญาและ ส่วนทั้งหลายเลย ชื่อว่า ทรงประพฤติธรรมในชาวบ้านและชาวคิม เมื่อทรงทำชาวเว้นแคว้นและชาวชนบทให้ลำบาก ด้วยเหตุ อันไม่สมควร ไม่ตั้งพระราชหฤทัย อันประเพื่อประโยชน์แก่ ดูลไว้ ชื่อว่า ทรงประพฤติธรรมในชาวแว่นแคว้นและชาวชนบทนั้น แต่เมื่อไม่ทรงบิบนัน และทรงแผ่ไปด้วยพระราชหฤทัยอัน ประกอบด้วยประโยชน์ก็ดูล ชื่อว่า ทรงประพฤติธรรมในชาว แว่นแคว้นและชาวชนบทนั้น เมื่อพระราชทานปัจจัย ๔ แก่สมณะและพราหมณ์เทียว ชื่อว่า ทรงประพฤติธรรมในสมณะและพราหมณ์เหล่านั้น เมื่อพระราชทานกิเลสสัตว์ ๔ เท่าและนกทุกๆ ตัว ชื่อว่า ทรงประพฤติธรรมในเนื้อและคนทั้งหลาย บทว่า ธมฺโม ได้แก่ ธรรม คือการประพฤติชอบที่บุคคล ประพฤติแล้ว บทว่า สุขาวิโล ความว่า ย่อมนำมาซึ่งความสุขในกุล- สัมมาท ๑ ในกถสวรรค ๖ ชั้น บทว่า สุตวณเนน ได้แก่ เพราะ สุขจิตมิกายสุจริตเป็นต้น อนุบุคคลประพฤติดีแล้วในโลกนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More