ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค ๕ - มังกรคล้ายที่เป็นเปล เล่ม ๒ - หน้าที่ ๒๐๐
[มารดาบิดาเป็นพรหมของบุตร]
๒๕๔๕ อีกอย่างหนึ่ง มารดาบิดากัง ๒ นั้น ท่านเรียกว่า "พรหม
บูรพเทพ บูรพาจารย์ และอาจาไนยบุคคล" (ของบุตร) เปรียบ
เหมือนท้าวมหาพรหม ย่อมไม่ละภาวนทั้งหมด ๕ ในหมู่สัตว์ ฉันใด;
มารดาบิดาก็มิได้ละภาวทั้งหมด ๕ ในบุรุฉันนั้น. จริงอยู่ เมื่อบุตรอยู่
ในท้อง มารดาบิดา่น เกิดเมตตาจิตขึ้นในบุตรว่า "เมื่อไรหนอ
เราจึงจั๊กเห็นลูกน้อย ไม่มีโรค?"
อย่าง ในภาคใด บุตรนั้นยังอ่อน นอนหยายอยู่ ถูกสัตว์
ทั้งหลายมีเล่นเป็นตันก็หา หรือถูกการนอนเป็นทุกข์บ้างก็ร้องไห้
ในภาคนั้น ท่านทั้ง ๒ ก็เกิดความทุกข์ขึ้น เพราะใดด้ับเสียงบุตร
นั้น. อย่าง ในภาคอุคตรวิ่งร่างจี้นไปเล่นได้ดีดี ในภาคอุตต่วงอยู่ในวัฏ
งาม (น่าดูชม) ก็ได้ ท่านทั้ง ๒ ก็มีอ่อนโยน นันพิ้ง เบิกบาน
เพราะมองดูบุตรน้อย ในภาคนั้น ท่านทั้ง ๒ ย่อมได้ความบันเทิง
(มุทิตา).
อย่าง ในภาคใด บุตรนั้นทำการเลี้ยงภริยา แบกครองเรือน
ในภาคนั้น ท่านทั้ง ๒ ก็คิดความมัชฌัสสิ่งว่า "บิดนี้ ลูกน้อยของ
เรา อาเพื่อจะเลี้ยง(คน) ได้โดยธรรมดา (ตามลำพัง) ของตน,"
ในภาคนั้น ท่านทั้ง ๒ ย่อมได้ความเมตตาเฉย (อิเปนาม).
มารดาบิดาก็งั้น ๒ นั้น ท่านเรียกว่า พรหม เพราะท่านมีความ
ประพฤตเป็นบังพรหม เพราะได้พรหมวิหารในบุตรทั้งหลายครบ ๔
อย่างตามภาค ด้วยประการะนี้.