บทเรียนเกี่ยวกับวาจาสัตย์และประโยชน์ในชีวิต มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 2 หน้า 184
หน้าที่ 184 / 356

สรุปเนื้อหา

บทนี้เน้นถึงความสำคัญของวาจาสัตย์และการดำเนินชีวิตของสัตบุรุษที่เชื่อมั่นในคำสัตย์ที่เป็นประโยชน์และธรรมะ ผู้ที่พูดคำสัตย์จะนำประโยชน์มาสู่ตนเองและผู้อื่น การปฏิบัติธรรมตามคำสัตย์จะทำให้มีการพัฒนาชีวิตอย่างมีคุณค่า และเป็นที่น่าเคารพนับถือในสังคม. คำสัตย์ที่เป็นประโยชน์ไม่เพียงแต่ช่วยให้การดำรงชีวิตเรียบร้อย แต่ยังเชื่อมโยงกับการกระทำที่ถูกต้องในทุก ๆ ด้าน. การที่บุคคลยึดมั่นในธรรมและความจริงจะทำให้เกิดสันติสุข และความเจริญรุ่งเรืองในสังคม.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของวาจาสัตย์
-บทบาทของสัตบุรุษในสังคม
-การนำเสนอความจริงผ่านธรรม
-ประโยชน์ของการปฏิบัติธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๔ - มังคลิดาที่เป็นเปล เล่ม ๒ - หน้าที่ 184 ประโยชน์ให้สำเร็จกว่าที่หลาย ดั่งนี้ บากกาว่ า เอส ธมฺโม สนฺโนดฺโญ ความว่า ธรรมที่ชื่อว่า วาจาสัตย์ เป็นธรรม คืออริยประเพณีว่า ความจริง ดำรงนี้ นี้แล คนเก่าหลายประพฤติดีนแล้ว ด้วยว่า คนเก่าหล่านั้น ไม่กล่าวคำหลอกหลอนเลย ด้วยเหตุนั้นแล พระวังศิลเดระจึงกล่าว ว่า “สัตบุรุษทั้งหลายดังมันแล้วในคำสัตย์อันเป็นประโยชน์ด้วย เป็น ธรรมด้วย” ดังนี้ สัตบุรุษนั่น พึงทราบว่า “ในประโยชน์และ ธรรมหล่านั้น เป็นผู้อึดอัดดังนี้แล้วในประโยชน์ของตนและชน เหล่านี้ ก็เพราะตั้งอยู่ในคำสัตย์นั้นแล, และชื่อว่าเป็นผู้งั้นแล้ว ในธรรม ก็เพราะเป็นผู้งั้นในประโยชน์นั่นเอง” อีกอย่างหนึ่ง บททั้ง ๒ เป็นวิสาสะของสัจจะ สัตบุรุษทั้งหลาย ตั้งมั่นแล้วในคำสัตย์ ในคำสัตย์เช่นไร ? ในคำสัตย์ที่เป็นประโยชน์ ด้วย เป็นธรรมด้วย คำสัตย์ชื่อว่า เป็นประโยชน์ เพราะไม่ไป ปราศจากประโยชน์ของชนเหล่าอื่น มีคำอธิบายว่า “ย่อมทำความ ไม่ผิด” ชื่อว่า เป็นธรรม ก็เพราะแม้มื่อตำรัสฎ์ทำความไม่ผิดคอย ไม่ไปปราศจากธรรม มีคำอธิบายว่า “คำสัตย์ย่อมึงจิจิเป็นประกอบ ด้วยธรรมเท่านั้นให้สำเร็จ” [๒๙๓] ก็ธรรมดา บุคคลผู้พูดคำสัตย์ ย่อมนำประโยชน์มาให้ ทั้งแก่ตนทั้งแก่ผู้อื่น เหมือนอธิบดานคุณเสมอและมหาสตต- โมมานติเป็นต้น, ใบบุคคลến ๒ นั้น เรื่องอธิบดานคุณเสมอกล่าว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More