การศึกษาความรู้และปัญญา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 2 หน้า 155
หน้าที่ 155 / 356

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความสำคัญของการมีปัญญาและการศึกษาในชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะกับความแตกต่างระหว่างสัตว์ที่มีปัญญาและไม่มี การแสดงถึงคำแนะนำที่ดีจากผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการดำเนินชีวิตในทางที่ถูกต้อง เพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายและเสริมสร้างชีวิตที่ดีขึ้น เนื้อหายังชี้ให้เห็นว่าความเข้าใจในหลักการการศึกษาเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการพัฒนาตนเองในสังคม โดยการมีวินัยและความมุ่งมั่นในการศึกษาเพื่อนำไปสู่ชีวิตที่ประสบผลสำเร็จ

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของปัญญา
-การศึกษาและวิถีชีวิต
-การพัฒนาตนเอง
-การมีวินัยในชีวิต
-การแนะนำจากผู้มีประสบการณ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

จะไม่พึงมีไซร้ ชนเป็นอันมากก็จะพึ่งเที่ยวไป เหมือนอกร้อมบอตเทียวไปในป่า ก็แต่เพราะ สัตว์บางหล่ำในโลกนี้ เป็นผู้สุดาชดีแล้วใน สำนักงานอารย์ ฉะนั้น สัตว์เหล่านั้น เป็นผู้มั ปัญญา มีมนุษย์อารยะและนำแล้ว มีโอวาท คงแล้ว จึงเที่ยวไป." [๒๕] ความแห่ง ๒ กล่าวนี้ว่า “เรามหาสมาห ถ้าปัญญา ของตนหรือวินัยคืออาราธนปัญญาดีแล้ว เพราะอาศัยบันติด ผู้ให้โอวาท จะไม่พึงแก้สัตว์เหล่านี้ไสร เมื่อเป็นเช่นนั้น ชนเป็น อนามกเช่นท่าน ก็จะพึ่งเที่ยวไปเหมือนกระบืออบ ไม่รู้จักที่ม อาหารไม่มีอาร และที่มีอันตราย หาดิอันตรายได้ เมื่อไปในป่า อันเป็นชุมแห่งผุ่คนและเครื่องกลิ้งล่ะเป็นต้น ฉะนั้น. แต่เพราะสัตว์บาง พวกในโลกนี้ เว้นจากปัญญาของตนดีแล้วในอาจารปัญญุต ในสำนักงานอาจาร ฉะนั้น สัตว์เหล่านั้น ชื่อว่า มีวิชอารยะ น่าแนะนาแล้ว เพราะเป็นผู้ฉลาดอารยะทั้งหลายแนะนำแล้ว ในวินัยอัน สมควรแก่ตน เป็นผู้ไม่มัวหมอง คือจิตใจอารมณ์เดียวจึงเที่ยวไป."' พระโพธิสัตว์แสดงความนี้ว่า "กัสสโนนี้ ที่ยังเป็นคุณสำคัญ ควรศึกษาข้อศึกษาน่ำสม ควรแก้สัตว์ ข้อศึกษาน่ำสมควรแก่สกุลของตน ที่เป็นบรรพชิต ก็ควรศึกษาข้อศึกษาน่ำสมควรแก่บรรพชา เพราะว่า แม๊กสัตว์ทั้งหลายฝ่ายศึกษา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More