อุดมงธรรมบถและกรรมบถในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 2 หน้า 144
หน้าที่ 144 / 356

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงอุดมงธรรมบถและกรรมบถในพระพุทธศาสนา โดยชี้ให้เห็นว่าความเป็นคลองแห่งสุดดีจะช่วยให้เกิดสุขและทุกข์แก่สัตว์ และการเว้นจากอุดมงธรรมบถ 10 ประการ เช่น การไม่ฆ่าสัตว์ การไม่ผิดประเวณี ซึ่งอ้างอิงจากพระสรัตนตรัย เป็นสิ่งสำคัญสำหรับการสร้างสรรค์ชีวิตที่ดีขึ้น สิ่งเหล่านี้เป็นแนวทางในการใช้ชีวิตและการพัฒนาจิตใจให้เข้าถึงความสุขสุดท้าย.

หัวข้อประเด็น

-อุดมงธรรม
-กรรมบถ
-พระพุทธศาสนา
-สุขและทุกข์
-การเว้นกรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๔ - มังคลอดกัชป ๒ เป็นกรรมฝ่ายอุดมง ดั่งนี้เป็นต้น กรรมมันแสดงที่เป็นไปโดยความ เป็นคลองแห่งสุดดีและทุกดี และแห่งสุขและทุกข์ของสัตว์เกิดขึ้น ในสุดและทุกข์นั้น จึงเรียกว่าอรรถบรม. เหตุนี้ ความที่เดนานั้น เป็นคลอง (กรรมบถ) จึงปรากฏแล้ว ส่วนความที่อุดมงธรรม มืออธิบายเป็นต้น เป็นสุขจิตและทุจริต ก็ด้วยเมตตาเป็นที่ประชุม และความที่อุดมงธรรมมืออธิบายเป็นต้น เป็นคลองแห่งสุดดีและ ทุกข์และสุขและทุกข์ของสัตว์ผู้เกิดขึ้นในสุดและทุกข์นั้น ก็ด้วย เป็นธรรมอันเดนมาให้เกิดและให้เจริญแล้ว เหตุนั้น ความที่อุดมง- ธรรมมืออธิบายเป็นต้นจึงไม่ปรากฏอย่างนั้น เหตุนัน พระผู้มีพระภาคจึงไม่รสเดนาน่าไว้ในพระอธิบม โดยความเป็นองค์ กรรมบถ เพื่อทรงแสดงอุดมงธรรมมืออธิบายเป็นต้นนั้นนั่นแล ตามสภาพนั้น. อีกอย่างหนึ่ง พึงเห็นสัทนิยวว่า “พระผู้มีพระภาค ไม่ตรัสเดนานกับอุดมงธรรมมืออธิบายเป็นต้นเหล่านั้น ก็เพราะเดนานา นั้นมีชาติไม่แท้.” ถาว่าว่าอัดอุดมงธรรมบถ จบ. [อุดมงธรรมบถ] [๒๔๖] การเว้นจากอุดมงธรรมบถ ๑๐ ประการนั้น โดยความ ได้แก่ กุศลธรรมบถ ๑๐ ประการ ที่สัตบุรุษมีพระสรัตนตรัยเถร เป็นต้นกล่าวไว้ในสังคีติสูตรเป็นอาทิ อย่างนี้คือ เดนานเครื่องเว้น จากปาณาติบาต ๑ จากอุจจานานาท ๑ จากกาเมสุจราจ ๑ จาก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More